1 / 54

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕. โดย.. . พรพรรณ ไม้สุพร ศูนย์บริหารหมายสาธารณสุข กรมนามัย. ประเด็นการพูดคุย. หลักการและแนวทางการใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขเพื่อควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

venus
Download Presentation

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุขพ.ศ. ๒๕๓๕ โดย... พรพรรณ ไม้สุพร ศูนย์บริหารหมายสาธารณสุข กรมนามัย

  2. ประเด็นการพูดคุย • หลักการและแนวทางการใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขเพื่อควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ • การนำเครื่องมือประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมมาปรับใช้กับกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ในเรื่อง • การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น • การพิจารณาออกในอนุญาต • การควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

  3. ความคาดหวัง ราชการส่วนท้องถิ่นสามารถ “ออกกฎหมายได้ ใช้กฎหมายเป็น” ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕

  4. แนวความคิดพื้นฐานของการปกครองส่วนท้องถิ่นแนวความคิดพื้นฐานของการปกครองส่วนท้องถิ่น • เป็นระบบการ กระจายอำนาจจาก “ส่วนกลาง” สู่ “ส่วนท้องถิ่น” • เพื่อให้บริการสาธารณะทั่วถึงตรงกับความ ต้องการของประชาชน และเหมาะสม • เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม และ เรียนรู้ ระบอบ ประชาธิปไตย • “ส่วนกลาง” ต้องไม่มีอำนาจเหนือ • “ส่วนท้องถิ่น” ต้องมีอิสระในการตัดสินใจ /พัฒนาตนเองได้

  5. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ • การสาธารณสุข /การอนามัย ครอบครัว /รักษาพยาบาล • พัฒนาเด็ก/สตรี / เยาวชน • ส่งเสริมกีฬา • ปรับปรุงชุมชนแออัด • สถานที่พักผ่อน • จัดให้มีทางน้ำ/ทางบก • กำจัดสิ่งปฏิกูล /มูลฝอย • ควบคุมการเลี้ยงสัตว์/ฆ่าสัตว์ • การอนามัยโรงมหรสพ / สาธารณสถานอื่น ๆ • ตลาด /ท่าเทียบเรือ • การผังเมือง • การควบคุมอาคาร • รักษาทางน้ำ /ทางบก จัดบริการสาธารณะ ออกกฎ / บังคับใช้ ประชาชน / เอกชน / ผู้ประกอบการ

  6. กิจกรรม&กิจการ&อุตสาหกรรมกิจกรรม&กิจการ&อุตสาหกรรม ทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ & พลังงาน กรรมวิธีการผลิต เทคโนโลยี มลพิษ ผลผลิต • วางแผนการใช้ • กฎหมาย • พัฒนา • มาตรการกฎหมาย เป็นโทษ เป็นคุณ สภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพ

  7. ใช้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข เพื่อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คุ้มครอง สุขภาพ ประชาชน ป้องกัน จุลินทรีย์ ที่ก่อโรค มลพิษ สิ่งแวดล้อม

  8. หลักการของ พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ • คุ้มครองประชาชนด้านสุขลักษณะ และการอนามัยสิ่งแวดล้อม • กระจายอำนาจสู่ส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น และบังคับใช้ • ให้อำนาจเจ้าพนักงานสาธารณสุขตรวจตราแนะนำ เป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการแก่เจ้าพนักงานท้องถิ่น • ให้มีคณะกรรมการสาธารณสุข กำกับดูแล ให้การสนับสนุน • ให้สิทธิแก่ประชาชนยื่นอุทธรณ์ได้

  9. สรุปโครงสร้างอำนาจหน้าที่ตาม พรบ.สธ. รมต. กฎ/ประกาศกระทรวง แต่งตั้ง คณะ กก.สธ. อธิบดีกรมอนามัย • สนับสนุน • สอดส่องดูแล แจ้ง จพง. สธ. คณะอนุกก. ราชการส่วนท้องถิ่น จพง.ท้องถิ่น • ออกข้อกำหนด • อนุญาต/ไม่อนุญาต • ออกคำสั่ง อุทธรณ์ ผู้ได้รับแต่งตั้ง ออกคำสั่ง ตาม ม.8 ผปก./เอกชน/ประชาชน มีการฝ่าฝืน พรบ. คณะกรรมการเปรียบเทียบคดี จพง.ท้องถิ่น/ผู้ได้รับมอบหมาย เปรียบเทียบคดี(ปรับ) ดำเนินคดีทางศาล

  10. อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน 1 เจ้าพนักงานท้องถิ่น เจ้าพนักงาน สาธารณสุข ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งจาก เจ้าพนักงานท้องถิ่น 2 3

  11. 1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น1.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น 1. เสนอ “ร่าง ข้อกำหนดของท้องถิ่น” 2. ออกใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง 3. ตรวจตราดูแลกิจการต่าง ๆ 4. ออกคำสั่งให้ผู้ประกอบการ/บุคคล แก้ไขปรับปรุง 5. ออกคำสั่งให้หยุดกิจการ/พักใช้/เพิกถอน ใบอนุญาต 6. เปรียบเทียบคดีที่อยู่ในอำนาจ 7. แต่งตั้งผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก จพถ. ตาม ม. 44 วรรคสอง 8. ภารกิจอื่นๆ ที่ระบุไว้ใน พ.ร.บ.

  12. 2.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานสาธารณสุข2.อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานสาธารณสุข ม. 46 ว.1เมื่อพบเห็นการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องให้แจ้ง จพถ. เพื่อออกคำสั่งโดยไม่ชักช้า ว.2 กรณีที่เป็นอันตรายร้ายแรงและ ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน ให้ออกคำสั่ง แก้ไขปรับปรุงได้ แล้วแจ้ง จพถ. ทราบ

  13. (1) เรียกบุคคลมาให้ถ้อยคำ ทำคำชี้แจงหรือส่งเอกสาร (2) เข้าไปในอาคารหรือสถานที่ใดๆในระหว่างพระ อาทิตย์ขึ้น-ตก หรือในเวลาทำการเพื่อตรวจสอบ ควบคุม หรือดูหลักฐาน (3) แนะนำให้ผู้ประกอบการปฏิบัติให้ถูกต้องตาม เงื่อนไขหรือข้อกำหนดของท้องถิ่น (4) ยึดหรืออายัด สิ่งของใดๆที่อาจเป็นอันตราย เพื่อดำเนินคดี หรือทำลายในกรณีที่จำเป็น (5) เก็บหรือนำ สินค้า หรือสิ่งของใดๆที่ สงสัย หรืออาจก่อเหตุรำคาญในปริมาณที่สมควร เพื่อเป็นตัวอย่างในการตรวจสอบ โดยไม่ต้องใช้ราคา 1) เจ้าพนักงาน ท้องถิ่น 2) เจ้าพนักงาน สาธารณสุข 3) ผู้ได้รับแต่ง ตั้งจาก จพง. ท้องถิ่น ม.44

  14. สารบัญญัติตาม พ.ร.บ.การสาธาณสุข พ.ศ. 2535 หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ

  15. พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้อำนาจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ออกคำสั่งให้ • ปรับปรุง/ แก้ไข • พักใช้/ หยุด • เพิกถอน • ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น • สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย • กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ • กิจการตลาด • สถานที่จำหน่าย/ สะสมอาหาร • การขายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ • การควบคุมการเลี้ยง/ปล่อยสัตว์ พิจารณาอนุญาตและตรวจตราดูแล กิจการต่าง ๆ • กรณี • เหตุรำคาญ • ผิดสุขลักษณะอาคาร • ฝ่าฝืนข้อกำหนดฯ

  16. กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมายถึง กิจการที่ รมว.สธ. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้เป็น กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ม.31) มี 135 ประเภท 13 กลุ่ม 1. กิจการที่เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ (3) 2. กิจการที่เกี่ยวกับสัตว์และผลิตภัณฑ์ (8) 3. กิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม น้ำดื่ม (26) 4. กิจการที่เกี่ยวกับยา เวชภัณฑ์ อุปกรณ์การแพทย์เครื่องสำอาง สารชำระล้าง (5) 5. กิจการที่เกี่ยวกับการเกษตร (9) 6. กิจการที่เกี่ยวกับโลหะหรือแร่ (6) 7. กิจการที่เกี่ยวกับยานยนต์ เครื่องจักรหรือเครื่องกล (7) 8. กิจการที่เกี่ยวกับไม้ (8) 9. กิจการที่เกี่ยวกับการบริการ (17) 10. กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ (8) 11. กิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุที่คล้ายคลึง (11) 12. กิจการที่เกี่ยวกับปิโตรเลี่ยม ถ่านหิน สารเคมี (17) 13. กิจการอื่นๆ (10)

  17. การควบคุม เรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ราชการส่วนท้องถิ่นต้องออก ข้อกำหนดของท้องถิ่น (ม.32) (1) กำหนดประเภทกิจการ ที่ต้องควบคุมภายในท้องถิ่น (2) กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขทั่วไป ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ เป็นการค้า ขออนุญาต ต่อ จพถ. ภายใน 90 วัน เงื่อนไขเฉพาะ ที่ จพถ. ระบุ ในใบอนุญาต ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ ไม่เป็นการค้า ต้องปฏิบัติตาม

  18. กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการในการควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๔๕ ผลการใช้บังคับ ข้อ ๒ วรรคแรก ผู้ดำเนินกิจการในสถานประกอบกิจการประเภทที่ราชการส่วนท้องถิ่นได้ออกข้อบัญญัติกำหนดให้เป็นกิจการที่ต้องควบคุมและมีผลใช้บังคับในท้องถิ่นนั้นแล้ว ต้องดำเนินการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงนี้กำหนด

  19. กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรการในการควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.๒๕๔๕ ผลการใช้บังคับ ข้อ ๒ วรรคสอง สถานประกอบกิจการที่ตั้งอยู่ในเขตที่กฎหมายว่าด้วยผังเมืองหรือกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารมีผลใช้บังคับ หรือสถานประกอบกิจการใดที่เข้าข่ายเป็นโรงงานหรือมีการประกอบกิจการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องด้วยแล้วแต่กรณี

  20. ข้อหารือ : กิจการนี้เข้าข่ายเป็นกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือไม่

  21. ๙(๓) การประกอบกิจการโรงแรมหรือกิจการอื่นในทำนองเดียวกัน หรือ๙(๔) การประกอบกิจการหอพัก อาคารชุดให้เช่า ห้องเช่า ห้องแบ่งเช่า หรือกิจการอื่นในทำนองเดียวกัน

  22. กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และประเภทประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๑ ออกตาม พ.ร.บ. โรงแรม พ.ศ. ๒๕๔๗ ยกเว้น ไม่เกิน ๔ ห้อง / ๒๐ คน แต่ต้องแจ้งต่อนายทะเบียน

  23. แนวทางการยกร่างข้อกำหนดของท้องถิ่นแนวทางการยกร่างข้อกำหนดของท้องถิ่น

  24. รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด กฎกระทรวง /ประกาศกระทรวง พระราชกฤษฎีกา ข้อกำหนดของท้องถิ่น • ข้อบัญญัติ กทม./เมืองพัทยา • เทศบัญญัติ • ข้อบัญญัติจังหวัด • ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล

  25. การยกร่างข้อกำหนดของท้องถิ่นการยกร่างข้อกำหนดของท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น หมายถึง ข้อบังคับหรือกฎหมายที่องค์กรปกครองท้องถิ่นเป็นผู้ออก โดยอาศัยอำนาจแห่งกฎหมายที่มีลำดับชั้นสูงกว่า(แม่บท) หลักการ 1. ต้องมีกฎหมายแม่บทให้อำนาจไว้ 2. ออกข้อกำหนดท้องถิ่นเกินกว่าอำนาจที่กฎหมายแม่บทให้ไว้ไม่ได้ 3. ต้องออกตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด 4. หลัก “ไม่มีกฎหมาย ไม่มีความผิด”

  26. ขั้นตอนการบัญญัติกฎหมายแต่ละประเภทขั้นตอนการบัญญัติกฎหมายแต่ละประเภท

  27. องค์ประกอบในการยกร่างองค์ประกอบในการยกร่าง 1. ต้องชัดเจนในปัญหา ตามข้อเท็จจริงของท้องถิ่น 2. ต้องชัดเจนต่อบทบัญญัติ 3. ต้องชัดเจนต่อเทคโนโลยีทางวิชาการ ในการแก้ปัญหา 4. ต้องประเมินความเป็นไปได้ ในทางปฏิบัติ

  28. ขั้นตอนการยกร่างฯ 1. สำรวจ & ประเมินปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม 2. ตรวจสอบบทบัญญัติแห่งกฎหมาย 3. เสนอให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นให้ความเห็นชอบในการ ยกร่างฯ เพื่อแก้ปัญหานั้นๆ 4. แต่งตั้งคณะทำงานยกร่างฯ - จพง.สาธารณสุข (ท้องถิ่น/สสจ./ศูนย์อนามัย) - อาจารย์สถาบันการศึกษา - นิติกร (ท้องถิ่น/สสจ./สำนักงานจังหวัด) - ผู้แทนฝ่ายผู้ประกอบการ (ตามความเหมาะสม) - อื่นๆ ตามความเหมาะสม

  29. ขั้นตอนการยกร่างฯ (ต่อ) 5. ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมในการเสนอความ คิดเห็น” 6. เมื่อยกร่างฯแล้วเสนอผ่านเจ้าพนักงานท้องถิ่น เข้าสู่การพิจารณาของ “สภาท้องถิ่น” 7. เมื่อสภาท้องถิ่นเห็นชอบให้ติดประกาศฯ เพื่อบังคับใช้ต่อไป

  30. โครงสร้างของร่างข้อกำหนดของท้องถิ่นโครงสร้างของร่างข้อกำหนดของท้องถิ่น ส่วนประกอบโดยทั่วไป 1) ชื่อ 2) บทนำ (การอ้างอิงอำนาจแห่งกฎหมาย) 3) บทนิยามศัพท์ (ขอบเขตความหมาย) 4) บทบังคับ 5) บทกำหนดโทษ (ต้องตามแม่บท) 6) บทเฉพาะกาล 7) บทท้าย 8) ส่วนแนบท้าย

  31. (ร่าง) ... ชื่อ ข้อกำหนดของท้องถิ่น ... เรื่อง ...................... พ.ศ. .... โดยที่เห็นเป็นการสมควรตราข้อบัญญัติ......(ใส่ชื่อ อปท. )...........…………....ว่าด้วย…..……….(ใส่ชื่อเรื่อง).................................... อาศัยอำนาจตามความในมาตรา……..(ม.60/ม.71)... แห่งพระราชบัญญัติ.............(ที่จัดตั้งราชการส่วนท้องถิ่นนั้น) …… และมาตรา .....แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 และมาตรา 43 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ... (ชื่อราชการส่วนท้องถิ่นนั้น) ... โดยความเห็นชอบของ ...(สภาท้องถิ่น) ...และ...(ผู้ว่าราชการจังหวัด/นายอำเภอ)...จึงตรา ... (ข้อกำหนดของท้องถิ่น) ... ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ...(ข้อกำหนดของท้องถิ่นนี้) เรียกว่า “ข้อบัญญัติ.....เรื่อง..... พ.ศ. ....”

  32. กิจการที่ควบคุมด้วยการขออนุญาตโดยการตราข้อกำหนดของท้องถิ่นกิจการที่ควบคุมด้วยการขออนุญาตโดยการตราข้อกำหนดของท้องถิ่น ม.19 กิจการเก็บ ขน กำจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอยที่ ดำเนินเป็นธุรกิจหรือได้รับประโยชน์ตอบแทน ด้วยการคิดค่าบริการ(ม.20,54,55,58,63และ65) ม.33 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ม.32,54,55,58,63และ65) ม.34 การจัดตั้งตลาด (ม.35,37,54,55,58,63และ65) ม.38 สถานที่จำหน่ายอาหาร หรือสถานที่สะสม อาหารที่มีพื้นที่เกินกว่า 200 ตารางเมตร (ม.40,54,55,58,63และ65) ม.41 การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ (ม.43,54,55,58,63และ65)

  33. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ • มาตรา ๒๙การจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ จะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กำหนดไว้และเท่าที่จำเป็น และจะกระทบกระเทือนสาระสำคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้ • กฎหมายตามวรรคหนึ่งต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป และไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง ทั้งต้องระบุบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ให้อำนาจในการตรากฎหมายนั้นด้วย • บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองให้นำมาใช้บังคับกับกฎที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายด้วยโดยอนุโลม

  34. ข้อ 2 ...(ข้อกำหนดของท้องถิ่นนี้)... ให้ใช้บังคับ ได้ตั้งแต่ ............ ข้อ 3 ... (การยกเลิกกฎหมายเก่า) ... บรรดาข้อบังคับ ระเบียบและคำสั่งอื่นใดในส่วนที่ได้ตราไว้แล้ว... ข้อ 4 ... (การยกเว้นการบังคับใช้ถ้ามี) ... บทนิยามศัพท์ ข้อ 5 ...(ในข้อกำหนด) ... นี้ “ ....…..…....... “ หมายความว่า…….. “ ......……....... “ หมายความว่า……..

  35. บทบังคับ คือ รายละเอียดข้อห้าม/ข้อปฏิบัติ ตามกฎหมาย (1) บทบังคับตามที่กฎหมายแม่บทกำหนดไว้ (2) บทบังคับที่กฎหมายให้กำหนดรายละเอียดเพิ่มเติม

  36. (1) บทบังคับตามที่กฎหมายแม่บทกำหนดไว้ • อำนาจการควบคุมดูแลของรัฐ • อำนาจการอนุญาตประกอบกิจการ • คุณสมบัติของใบอนุญาต • ข้อปฏิบัติของผู้ได้รับใบอนุญาต • การพักใช้ใบอนุญาต • การเพิกถอน ผลของการเพิกถอนใบอนุญาต • อำนาจตามมาตรา 45 * อายุ * พื้นที่การใช้ * การแสดงไว้ในที่เปิดเผย * การต่ออายุ * การขอรับใบแทน * การเลิก โอนกิจการ

  37. (2) บทบังคับที่กฎหมายให้กำหนดรายละเอียดเพิ่มเติม • หลักเกณฑ์ วิธีการ มาตรฐานด้านสุขลักษณะ เพื่อควบคุม/แก้ไขปัญหาที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพ • (เครื่องมือประเมินความเสี่ยงฯ/การรับฟังความคิดเห็น) • หลักเกณฑ์ วิธีการในการออกใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง/การต่ออายุ/การขอรับใบแทน • ค่าธรรมเนียม/ค่าบริการ

  38. ข้อกำหนดด้านสุขลักษณะข้อกำหนดด้านสุขลักษณะ • 1. เพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาต • เกี่ยวกับที่ตั้ง/สถานที่ • ให้มีอุปกรณ์ เครื่องมือที่ปลอดภัย • ให้มีระบบการบำบัด/ป้องกันมลพิษ • ฯลฯ 2. เพื่อควบคุมในระหว่างดำเนินกิจการ • การดูแลรักษาสถานที่ • การดูแลอุปกรณ์/เครื่องมือ • การดูแลระบบฯให้มีการใช้การได้ดี • สุขวิทยาส่วนบุคคล • กรรมวิธีการทำ ผลิต เก็บ สะสม จำหน่าย • ฯลฯ • กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและมาตรการในการควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ • คำแนะนำของคณะกรรมการสาธารณสุขเรื่องสุขลักษณะ • เครื่องมือประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

  39. หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 6 ................................................? หมวด 2 หลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะ (มีกฎกระทรวงแล้วบางเรื่อง?) ข้อ 7 ผู้ขอรับใบอนุญาตจะต้องจัดให้ได้ตามหลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะ ดังต่อไปนี้ (1) สถานที่ ที่ตั้ง ... (2) อุปกรณ์ เครื่องมือ ... (3) ระบบการบำบัด /ป้องกันมลพิษ ... (4) คุณสมบัติของบุคลากร ... ฯลฯ

  40. ข้อ 8 ในระหว่างดำเนินกิจการ ผู้ประกอบกิจการต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขทั่วไปเกี่ยวกับการดูแลสภาพหรือสุขลักษณะของสถานที่ที่ใช้ประกอบกิจการและมาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพดังต่อไปนี้ (1) การดูแลสถานที่ ... (2) การดูแลเครื่องมือ /อุปกรณ์ ... (3) การดูแลระบบบำบัด /ป้องกันมลพิษ ... (4) สุขวิทยาส่วนบุคคล ... (5) กรรมวิธีการทำ การผลิต การเก็บ การสะสม การจำหน่าย ฯลฯ

  41. หมวด 3 หลักเกณฑ์การอนุญาต ข้อ 9 ผู้ขอรับใบอนุญาต… ต้องยื่นคำขอตามแบบแนบท้าย และต้องนำหลักฐานดังต่อไปนี้มาแสดง … ข้อ 10 …(หลักเกณฑ์การต่ออายุ การขอรับใบแทน การแสดง ใบอนุญาตในสถานประกอบการ) ... หมวด 4 อัตราค่าธรรมเนียม อัตราค่าบริการ ข้อ 11 ... อัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการหรือการออกใบ อนุญาต หรือการออกหนังสือรับรองการแจ้ง ให้เป็นไปตามบัญชีท้าย ข้อกำหนดของท้องถิ่นนี้ ...

  42. (ข้อ 12 ... อัตราค่าบริการขั้นสูงที่ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการรับทำการเก็บ ขน หรือกำจัด สิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอยจะเรียกเก็บได้ ให้เป็นไปตามบัญชีท้ายข้อกำหนดของท้องถิ่นนี้ ...) หมวด 5 บทกำหนดโทษ ข้อ 13 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหรือฝ่าฝืนข้อกำหนดของท้องถิ่นนี้ ต้องระวางโทษตามบทกำหนดโทษ แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (หรือจะใส่รายละเอียดเลขมาตรา / ขนาดระวางโทษลงไปก็ได้)

  43. หมวด 6 บทเฉพาะกาล ... (ถ้ามี) ข้อ 14 .................................…………... ข้อ 15 ให้ ... (เจ้าพนักงานท้องถิ่น) ... รักษาการให้เป็นไปตาม...(ข้อกำหนดของท้องถิ่น) ... นี้ และให้มีอำนาจออกข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่งหรือประกาศ เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตาม... (ข้อกำหนดของท้องถิ่น) ... นี้ ประกาศ ณ วันที่ ................… ( .................................. ) เห็นชอบ ... (เจ้าพนักงานท้องถิ่น) ... ( .............................) ตำแหน่ง ......................

  44. การใช้มาตรการกฎหมาย 1) ออกข้อกำหนดท้องถิ่น และ ประกาศใช้ 2) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ “ข้อกำหนดท้องถิ่น” 3) ประชุมชี้แจงผู้ประกอบการ เพื่อให้ผู้ประกอบการที่อยู่ในข่ายควบคุม เข้าใจเหตุผลความจำเป็น ของข้อกำหนดฯ ขั้นตอนการควบคุมของท้องถิ่นและการลงโทษ 4) ดำเนินการตรวจตรา & พบเหตุแนะนำ & แจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่น 5) เจ้าพนักงานท้องถิ่นออกคำสั่ง 7) ดำเนินคดี กรณีฝ่าฝืน/ดื้อแพ่ง

  45. ขั้นตอนการขอใบอนุญาต (ม.56) (1) ผู้ประกอบการยื่นคำขอพร้อมหลักฐานตามที่ราชการส่วนท้องถิ่นกำหนด ต่อ จพถ. กรณีจำเป็นที่จะต้องส่งคืนคำขอแก่ผู้ขออนุญาต ให้ส่งคืนพร้อมแจ้งความไม่ถูกต้องให้ทราบภายใน 15 วัน นับแต่ได้รับคำขอ (2) จพถ. พิจารณาคำขอ แจ้งผู้ประกอบการภายใน 15 วัน เพื่อทราบและแก้ไข กรณี ไม่ถูกต้อง กรณีถูกต้อง กรณีไม่แก้ไข ให้ถูกต้อง เมื่อแก้ไข ถูกต้อง (3) จพถ. อาจมอบให้ จพส. ตรวจสถานที่ด้านสุขลักษณะ เป็นการสละสิทธิ การยื่นคำขอ ต้องด้วยสุขลักษณะ ไม่ต้องด้วยสุขลักษณะ ภายใน 30 วัน (ขยายเวลาได้ 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 15 วัน) (4) จพถ.ออกใบอนุญาต (4) จพถ. มีคำสั่งไม่อนุญาต

  46. มาตรการควบคุมกิจการที่ต้องขออนุญาตมาตรการควบคุมกิจการที่ต้องขออนุญาต โทษจำคุก > 6 เดือน ปรับ >10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ม.71 1.ไม่ได้รับ ใบอนุญาต โทษจำคุก > 6 เดือน ปรับ >10,000 บาท ม.72 โทษปรับ >2,000บาท ม.77 สั่งให้ปรับปรุง/แก้ไข • 2. ไม่ปฏิบัติตาม • พรบ. • กฎกระทรวง • ข้อกำหนดของท้องถิ่น • เงื่อนไขในใบอนุญาต สั่งพักใช้ใบอนุญาต จพถ.มี อำนาจ * ครั้งละไม่เกิน 15 วัน สั่งเพิกถอนใบอนุญาต * ถูกพักใช้ 2 ครั้งขึ้นไป * ต้องคำพิพากษาว่าผิด * มีอันตรายร้ายแรง

  47. กฎกระทรวงเรื่องอัตราค่าธรรมเนียมกฎกระทรวงเรื่องอัตราค่าธรรมเนียม • ค่าธรรมเนียมการให้บริการในการเก็บ • ขนและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย • 2. ค่าธรรมเนียมในการออกใบอนุญาต • 3. ค่าธรรมเนียมในการออกหนังสือรับรองการแจ้ง

  48. ค่าธรรมเนียมและค่าปรับ ม.63 หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข ราชการส่วนท้องถิ่น มีอำนาจออกข้อกำหนดของท้องถิ่น กำหนดค่าธรรมเนียม ตาม กฎ กระทรวง ไม่เกิน อัตรา ม.64 บรรดาค่าธรรมเนียม และค่าปรับให้เป็นรายได้ ของราชการส่วนท้องถิ่น • 20% ค่าธรรมเนียม • เปรียบเทียบปรับ ค่าปรับ

  49. ม.65 กรณีเมื่อมีข้อกำหนดของท้องถิ่น ผู้แจ้ง/ ผู้ได้รับอนุญาต อัตรา ตามข้อกำหนด ของท้องถิ่น เสียค่าธรรมเนียม ระยะเวลา • กรณีไม่เสียค่า • ธรรมเนียมภาย • ในเวลาที่กำหนด ต้องเสียค่าปรับเพิ่มอีก 20% ของที่ค้างชำระ ได้บอกเลิกการดำเนินการก่อนถึงกำหนดเสียครั้งต่อไป เว้นแต่ • กรณีค้างชำระ • ติดต่อกันเกิน • กว่า 2 ครั้ง มีอำนาจสั่งให้หยุดกิจการได้จนกว่าจะเสียค่าธรรมเนียมที่ค้างและค่าปรับ จพถ.

  50. การคุ้มครองประชาชนของกฎหมายสาธารณสุขการคุ้มครองประชาชนของกฎหมายสาธารณสุข กิจการที่ต้องควบคุมตามกฎหมาย กิจการทั่วไป • สถานที่สะสมอาหาร • การเลี้ยงสัตว์หรือปล่อยสัตว์ • บ้าน/ ครัวเรือน/ ชุมชน • โรงเรียน/ สถานศึกษา • วัด/ ศาสนสถาน • สถานีขนส่ง/ สถานีรถไฟ • สถานพยาบาล • สถานประกอบกิจการอื่น ๆ • กิจการตลาด • กิจการร้านอาหาร • กิจการเก็บ ขน/กำจัดสิ่งปฏิกูล/มูลฝอย(ธุรกิจ) • กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (135ประเภท) • การขายสินค้าในที่/ทางสาธารณะ ประกาศเพิ่ม ก่อนประกอบการ ต้องขอ อนุญาต /แจ้ง ต้องปฏิบัติให้ถูก สุขลักษณะ ต้องกำจัด สิ่งปฏิกูล/ มูลฝอย ต้องดูแล อาคารให้ถูก สุขลักษณะ ต้องไม่ก่อ เหตุรำคาญ ข้อกำหนดของท้องถิ่น เจ้าพนักงานท้องถิ่น ราชการส่วนท้องถิ่น

More Related