320 likes | 463 Views
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด. โดย นายพิสิทธิ์ พลอยโสภณ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสกลนคร. การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด. ตามระบบแผนพัฒนาเป็นยุทธศาสตร์.
E N D
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด โดย นายพิสิทธิ์ พลอยโสภณ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสกลนคร
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด ตามระบบแผนพัฒนาเป็นยุทธศาสตร์ “มุ่งเน้นความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ระดับชาติกับยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่เพื่อถ่ายทอดเป้าหมายการพัฒนาระดับชาติ (Agenda) ลงสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ศักยภาพการดำเนินการตามกิจกรรมที่เป็นพันธกิจของหน่วยงาน ( Function )กับกิจกรรมตามศักยภาพทางการพัฒนาของพื้นที่ ( Area )”
Agenda ยุทธศาสตร์ระดับชาติ ยุทธศาสตร์ระดับชาติ Function / Area
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัดการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ความต้องการและศักยภาพ ทางการพัฒนาของอำเภอ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาอำเภอ แผนบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนารายสาขาระดับชาติ แผนพัฒนาจังหวัด ความต้องการและศักยภาพทางการพัฒนาของจังหวัด เป้าหมายและทิศทางการพัฒนาจังหวัด
การจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด คือการตอบ 4 คำถามสำคัญ Where are we now ?ปัจจุบันเราอยู่ ณ จุดไหน ? SWOT Analysis ศักยภาพทางการพัฒนา Where do we want to go ?เราต้องการไปสู่ จุดไหน ? Vision and Goals เป้าหมายและทิศทางการพัฒนาที่มุ่งหวัง How do we get there ?เราจะไปสู่จุดได้อย่างไร ? Strategies ประเด็นยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ What do you have to do or change ?เราจะต้องทำหรือเปลี่ยนแปลง อะไรบ้าง ? Implementation แผนงาน/โครงการ
องค์ประกอบของแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัดองค์ประกอบของแผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาอำเภอ/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ แผนงาน/โครงการ
การจัดทำ “วิสัยทัศน์” เราต้องการเป็นอะไร คือการตอบคำถามว่า โดยสิ่งที่เราจะเป็นนั้นต้องสอดคล้องกับกับ.... 1. เป้าหมาย/ทิศทางการพัฒนาของจังหวัดและของประเทศ 2. ความต้องการ/ศักยภาพของพื้นที่ เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ SWOT Analysis
การจัดทำ “วิสัยทัศน์” (ต่อ) วิธีการจัดทำ เป้าหมาย / ทิศทางการ ของพัฒนาประเทศตามแผนฯ 10 SWOT Analysis เปรียบเทียบกับข้อมูล พื้นฐานของอำเภอ ( 5 ด้าน ) ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านคุณภาพคน วิสัยทัศน์ของอำเภอ ( 5 ด้าน ) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการบริหารจัดภาครัฐ
การจัดทำ “วิสัยทัศน์” (ต่อ) ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • เป้าหมาย / ทิศทางการพัฒนาของจังหวัด • เป้าหมาย / ทิศทางการของพัฒนาประเทศตามแผนฯ 10 • เป้าหมาย / ทิศทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์เฉเพาะด้าน และรายสาขาระดับชาติ
การจัดทำ “ประเด็นยุทธศาสตร์” คือการตอบคำถามว่า ประเด็นยุทธศาสตร์ เราต้องทำอะไรบ้าง (ประเด็นท้าทาย) เพื่อไปสู่สิ่งที่เราต้องการจะเป็น เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ Strategies Analysis(Gap Analysis)
การจัดทำ “ประเด็นยุทธศาสตร์” วิธีการจัดทำ จุดที่เราต้องการไปถึงในอนาคต GAP SWOT Analysis จุดที่เราอยู่ ณ ปัจจุบัน
การจัดทำ “ประเด็นยุทธศาสตร์” (ต่อ) วิธีการจัดทำ นำผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ข้อจำกัด ในแต่ละด้าน (5 ด้าน) ของอำเภอมากำหนดเป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการ (ประเด็นยุทธศาสตร์) เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ (5 ด้าน ) โอกาส ข้อจำกัด จุดแข็ง จุดอ่อน
การจัดทำ “ประเด็นยุทธศาสตร์” (ต่อ) ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาตามแผนฯ 10 • ประเด็นยุทธศาสตร์ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาเฉพาะด้าน / รายสาขาระดับชาติ
การจัดทำ “ เป้าประสงค์” คือการตอบคำถามว่า ผลลัพธ์สุดท้าย (Impact)ที่ต้องการให้เกิดขึ้นจาก เป้าประสงค์ในแต่ละ ประเด็นยุทธศาสตร์ สิ่งที่เราทำคืออะไร เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ • การกำหนดผลผลิตโดยจำแนกออกเป็นผลผลิตระดับ Ouput /Outcome/Impact
การจัดทำ “ เป้าประสงค์” (ต่อ) วิธีการจัดทำ วิเคราะห์ว่าถ้าสิ่งที่เราจะทำนั้นประสบผลสำเร็จ ๆ นั้นในระดับ Output/Outcome /Impact คืออะไร ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • เป้าประสงค์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผน ฯ 10 • เป้าประสงค์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ตามยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน / รายสาขาระดับชาติ
การจัดทำ “ ตัวชี้วัด” คือการตอบคำถามว่า อะไรจะเป็นสิ่งที่บอกว่าเราบรรลุ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผลลัพธ์สุดท้าย (Impact) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ • การวิเคราะห์เพื่อบอกว่า “ผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรม ( ทั้งในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ ) ดูได้จากอะไร”
การจัดทำ “ ตัวชี้วัด” (ต่อ) วิธีการจัดทำ วิเคราะห์ว่าผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรมในระดับ Output/Outcome / Impact ดูได้จากอะไร ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • ตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนฯ 10 • ตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ของ ยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน/รายสาขาระดับชาติ
การจัดทำ “ ตัวชี้วัด” ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กิจกรรม
การจัดทำ “ กลยุทธ์” คือการตอบคำถามว่า เราจะต้องทำอะไร กลยุทธ์ เพื่อให้บรรลุผลในแต่ละเป้าประสงค์( ONE TO MANY ) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ SWOT Analysis ในแต่ละเป้าประสงค์ Strategic Initiative
การจัดทำ “ กลยุทธ์” (ต่อ) วิธีการจัดทำ นำเป้าประสงค์แต่ละตัวมาวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ข้อจำกัด ในการบรรลุ เป้าหมายเพื่อดูว่าถ้าจะทำให้บรรลุเป้าหมาย มีงานสำคัญ อะไรบ้างที่ต้องทำ ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • กลยุทธ์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนฯ 10 • กลยุทธ์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ตามยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน /รายสาขาระดับชาติ
กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์
การจัดทำ “ แผนงาน / โครงการ” คือการตอบคำถามว่า สิ่งที่จะต้องดำเนินการในแต่ละ กลยุทธ์มีอะไรบ้าง แล้วนำมาแยกเป็น 1. ประเภทงานประจำ 2. ประเภทงานพัฒนางานประจำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล 3. ประเภทงานใหม่ / งานริเริ่มที่สำคัญ ( Flagship Project) แผนงาน / โครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ • การวิเคราะห์งานในลักษณะ Value Chain / Cluster
การจัดทำ “ แผนงาน / โครงการ” (ต่อ) วิธีการจัดทำ วิเคราะห์ว่าถ้าจะดำเนินการตามกลยุทธ์ให้ประสบผลสำเร็จตามเป้าประสงค์มีกลุ่มงาน (Cluster) ที่ต้องดำเนินการอะไรบ้าง กลยุทธ์ เป้าประสงค์ กลุ่มงาน กลุ่มงาน งานประจำ งานพัฒนางานประจำ งานใหม่ / งานริเริ่ม
การจัดทำ “ แผนงาน / โครงการ” (ต่อ) ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องรู้ • โครงการที่เป็น Flagship Project ตามยุทธศาสตร์เฉพาะ ด้าน/ รายสาขาระดับชาติ
ระบบงบประมาณแผนมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแผนมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์ “ เน้นความเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์ และผลผลิตซึ่งเป็นผลงานที่ต้องการจากการใช้งบประมาณ ( Results Based Budgeting ) แล้วจึงกำหนดจำแนกผลงานออกเป็นโครงสร้างของกิจกรรม ( Work Breakdown Structure ) และจำแนกต่อเป็นชนิดของกิจกรรมหรือรายละเอียดของกิจกรรม ”
แผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม กลยุทธ์ Outcome Outcome หลักคิดในการจัดทำงบประมาณแผนมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์ Impact ประเด็นยุทธศาสตร์ Outcome Outcome Output Output Output
กระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอกระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอ 1. คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอจัดทำแผนพัฒนา อำเภอที่ระบุรายละเอียดถึงระดับการกำหนด “กลยุทธ์” ใน แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอกระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอ 2. จัดตั้งคณะทำงานเพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการในแต่ละกลยุทธ์ โดย คณะทำงานมีหน้าที่ 2.1 กำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง / ผู้มีส่วนได้เสียในแต่ละกลยุทธ์ 2.2 จัดระดมความคิดเห็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง / เพื่อกำหนดงาน / กิจกรรมที่จะต้องดำเนินการใน 3 ลักษณะ ( 1 ) งานประจำ ( 2 ) งานพัฒนางานประจำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ( 3 ) งานใหม่ / งานริเริ่มสำคัญ ( Flagship Project )
กระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอกระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอ 2.3 นำงานทั้ง 3 ประเภทมากำหนดแหล่งที่มาของงบประมาณ ( 1 ) ประเภทที่จะใช้งบปกติของส่วนราชการ คือ ( 1.1 ) งานประจำ ( 1.2 ) งานพัฒนางานประจำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ผลที่ได้คือ แผนงาน / โครงการที่จะขอรับการสนับสนุนจากส่วนราชการ ( 2 ) ประเภทที่จะใช้งบประมาณพิเศษ คือ • งานพัฒนางานประจำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ที่มีความสำคัญ • งานใหม่ / งานริเริ่มสำคัญ ( Flagship Project ) ผลที่ได้คือ แผนงาน / โครงการที่จะขอรับการสนับสนุนตามคำของบประมาณ รายจ่ายประจำปีของจังหวัด แผนงาน / โครงการที่จะขอรับการสนับสนุนจากเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอกระบวนการจัดแผนพัฒนาอำเภอ 3. คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอประมวลสรุปแผนงาน / โครงการที่ได้จากการดำเนินงานของคณะทำงานตามข้อ 2 จัดทำแผนพัฒนาอำเภอที่ระบุรายละเอียดถึงระดับแผนงาน / โครงการ แล้วนำมาจัดการรับฟังความเห็นจากทุกภาคส่วน เพื่อทบทวน / ปรับปรุงอีกครั้งหนึ่งก่อนส่งให้จังหวัด
กระบวนการจัดแผนพัฒนาจังหวัดกระบวนการจัดแผนพัฒนาจังหวัด 1. คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ( ก.บ.จ. ) ประมวลสรุปแผนพัฒนาอำเภอของทุกอำเภอ จัดทำเป็นแผนพัฒนาจังหวัด 2. ก.บ.จ. นำแผนพัฒนาจังหวัดเข้าสู่กระบวนการรับฟังความ คิดเห็นจากทุกภาคส่วน