1 / 22

อิเล็กทรอนิกส์ 1

Electronic1. อิเล็กทรอนิกส์ 1. Electronic 1. Electronic1. ไฟฟ้าเบื้องต้น. Introduction Electricity. E lectronic1. ชนิดของไฟฟ้า - ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ตัวอย่างเช่น ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า การเสียดถีของวัตถุ เป็นต้น

vance
Download Presentation

อิเล็กทรอนิกส์ 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1

  2. Electronic1 ไฟฟ้าเบื้องต้น Introduction Electricity

  3. Electronic1 ชนิดของไฟฟ้า - ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ตัวอย่างเช่น ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า การเสียดถีของวัตถุ เป็นต้น - ไฟฟ้ากระแส (Current Electricity) เป็นไฟฟ้าที่สร้างขึ้นมาโดยมนุษย์ โดยผลิตแรงเคลื่อน แล้วส่งกระแส ไปตามสายลวดตัวนำ

  4. Electronic1 ไฟฟ้ากระแส 1. ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current : AC) มีการเปลี่ยนทิศทางการไหลหรือขั้วทางไฟฟ้า สลับบวก-ลบ อยู่ตลอดเวลา 2. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current : DC) มีทิศทางการไหลหรือขั้วทางไฟฟ้าที่แน่นอน

  5. Electronic1 สัญลักษณ์

  6. Electronic1 ฟิวส์และเซอร์กิตเบรกเกอร์ เป็นอุปกรณ์ตัดต่อไฟฟ้า เพื่อความปลอดภัย ในกรณีที่วงจรไฟฟ้ามีความผิดปกติ เช่น กระแสเกิน วงจรชอร์ต ความแตกต่างของฟิวส์และเซอร์กิตเบรกเกอร์คือ ฟิวส์จะขาดไปเลยเมื่อกระแสเกิน แต่ถ้าเป็นเซอร์กิตเบรกเกอร์เพียงทำการรีเซตเพื่อกลับสู่สภาพปกติ

  7. Electronic1 สัญลักษณ์

  8. Electronic1 สวิทช์ เป็นอุปกรณ์ตัดต่อวงจร หรือเปิด-ปิดวงจรไฟฟ้า โดยจะมีหน้าสัมผัส (contact) เป็นตัวตัดวงจร แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบปกติเปิด : NO (Normal Opened) 2. แบบปกติปิด : NC (Normal Closed)

  9. Electronic1 การต่อวงจรไฟฟ้า 1. การต่ออนุกรม (Series) 2. การต่อขนาน (Parallel) 3. การต่อผสม (Series-Parallel)

  10. Electronic1 หน่วยต่างๆ ในวงจรไฟฟ้า 1. แรงเคลื่อนไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลท์(Volt)ย่อด้วย V. 1000 ไมโครโวลท์(µV) = 1 มิลลิโวลท์(mV) 1000 มิลลิโวลท์(mV) = 1 โวลท์(V) 1000 โวลท์(V) = 1 กิโลโวลท์(kV) 2. กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (Ampare) เรียกย่อๆว่าแอมป์ ย่อด้วย A. 1000 ไมโครแอมป์(µA) = 1 มิลลิแอมป์(mA) 1000 มิลลิแอมป์(mA) = 1 แอมป์(A) 1000 แอมป์(A) = 1 กิโลแอมป์(kA) 3. กำลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวัตต์ (Watt) ย่อด้วย W 1000 ไมโครวัตต์ (µW) = 1 มิลลิวัตต์ (mW) 1000 มิลลิวัตต์ (mA) = 1 วัตต์ (A) 1000 วัตต์ (A) = 1 กิโลวัตต์ (kA)

  11. Electronic1 ตัวต้านทาน • Resistors

  12. Electronic1 • ตัวต้านทาน หรือ รีซิสเตอร์(resistor) ตัวต้านทาน รีซิสเตอร์ หรือตัว อาร์ (R) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ต้านการไหลของกระแส ไฟฟ้า เนื่องจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่จะใช้งานได้ที่กระแสไฟฟ้าระดับหนึ่งเท่านั้น ดังนั้นเราจึงใช้ตัวต้านทาน กันไม่ให้มีกระแสไหลเข้าไปยังอุปกรณ์ดังกล่าวเกินความจำเป็น หน่วยค่าความต้านทานไฟฟ้าตามระบบเอสไอคือ โอห์ม อุปกรณ์ที่มีความต้านทาน ค่า 1 โอห์ม หากมีความต่างศักย์ 1 โวลท์ไหลผ่าน จะให้กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ ซึ่งเท่ากับการไหลของประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ ขนาดของตัวต้านทานจะเรียก เป็นกำลังวัตต์(W) และมีขนาดตั้งแต่ 1/8W 1/4W(เรานิยมใช้กัน) 1/2W 1W 2W 3W 5W ขึ้นไปเรื่อยๆ โดยการเลือก ใช้ตัวต้านทานนั้นต้องเลือกค่า เลือกขนาดกำลัง และชนิดของตัวต้านทานให้ถูกต้อง เพราะหากเลือกผิดจะเป็นผลเสียต่อวงจร

  13. Electronic1 ชนิดของตัวต้านทาน 1. ตัวต้านทานแบบมีค่าคงที่ (Fixed Resistor) 2. ตัวต้านทานปรับค่าได้ (Adjustable Resistor) 3. ตัวต้านทานเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor)

  14. Electronic1 ตัวต้านทานแบบมีค่าคงที่ - ตัวต้านทานแบบคาร์บอน - ตัวต้านทานแบบขดลวดหรือเซรามิค - ตัวต้านทานแบบฟิล์ม

  15. Electronic1 ตัวต้านทานปรับค่าได้ - โพเทนติโอมิเตอร์ (potentiometers) - รีโอสแตต (rheostats)

  16. Electronic1 ตัวต้านทานเปลี่ยนค่าได้ - เทอร์มิสเตอร์(thermistor) เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามระดับอุณหภูมิ - แอลดีอาร์ (LDR : Light Dependent Resistor) ตัวต้านทานปรับค่าตามแสงตกกระทบ ยิ่งมีแสงตกกระทบมากยิ่งมีความต้านทานต่ำ

  17. Electronic1 การอ่านค่าตัวต้านทาน

  18. Electronic1 การต่อวงจรตัวต้านทาน - ตัวต้านทานในวงจรอนุกรม RT = R1+ R2+…+Rn PT = P1 = P2 = Pn

  19. Electronic1 การต่อวงจรตัวต้านทาน - ตัวต้านทานในวงจรขนาน 1/RT = 1/R1+ 1/R2+…+1/Rn PT = P1 + P2 +…+ Pn

  20. Electronic1 วงจรตัวต้านทานแบบผสม

  21. Electronic1 กฎของโอห์ม กฎของโอห์มกล่าวไว้ว่า “ในวงจรไฟฟ้าใดๆ ค่าของกระแสจะแปรผันโดยตรงกับแรงดัน และแปรผกผันกับค่าของความต้านทานในวงจร” กระแสไฟฟ้า 1 แอมป์ เป็นผลการเปรียบเทียบอัตราส่วนระหว่างแรงเคลื่อน ไฟฟ้า 1 โวลท์ กับความต้านทาน 1 โอห์ม หรือเขียนเป็นสูตรได้ว่า

  22. Electronic1 อัตราทนกำลัง ตัวต้านทานจะต้องมีอัตรากำลังซึ่งคิดออกมาเป็น “วัตต์” (WATT) ซึ่งค่าอัตรากำลัง หาได้จากสูตร หรือ

More Related