270 likes | 491 Views
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี. พระราช กรณีย กิจต่อแผ่นดิน. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันท มหิดล. การเตรียมพระโอรสเพื่อเป็นพระมหากษัตริย์ที่เพียบพร้อม - ความใส่พระราชหฤทัยด้านพระพลานามัย เรื่องอนามัย โภชนาการ การประกอบอาหาร และยังโปรดให้เล่นอยู่กลางแจ้งในอากาศที่บริสุทธิ์
E N D
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระราชกรณียกิจต่อแผ่นดิน
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล • การเตรียมพระโอรสเพื่อเป็นพระมหากษัตริย์ที่เพียบพร้อม - ความใส่พระราชหฤทัยด้านพระพลานามัย เรื่องอนามัย โภชนาการ การประกอบอาหาร และยังโปรดให้เล่นอยู่กลางแจ้งในอากาศที่บริสุทธิ์ - การปลูกฝังพระราชจริยวัตรและพระอุปนิสัย ให้อยู่ในระเบียบวินัย มัธยัสถ์ แนวคิดทางศาสนา และแนวความคิดแบบประชาธิปไตย - การวางแนวทางด้านการศึกษา ทรงใส่พระราชหฤทัยการศึกษาของพระโอรส ธิดา มาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ขณะเดียวกันก็ทรงใช้เวลาว่างเข้าศึกษาวิชาต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยโลซานน์เช่นเดียวกันด้วย เพราะทรงเห็นคุณค่าของการแสวงหาความรู้ที่ทำได้ตลอดชีวิต
แนวพระราชดำริเกี่ยวกับสถานการณ์การเมืองแนวพระราชดำริเกี่ยวกับสถานการณ์การเมือง - การรักษาพระเกียรติและการเสริมสร้างบารมี ทรงปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตความเป็นอยู่แบบเรียบง่ายของราชสกุลมหิดล เพื่อให้สมพระเกียรติแห่งการเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี แต่ก็ต้องมีความเหมาะสมกับสถานภาพของยุคสมัยนั้นด้วย - การเสด็จนิวัติพระนครครั้งที่ 1 เพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้ประชาชนได้ชื่นชมพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระองค์ใหม่เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2481 โดยประทับอยู่ในเมืองไทยรวม 2 เดือน - การเลือกสถานที่ประทับระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลสวิสได้ให้คำรับรองที่จะถวายความปลอดภัยและเตรียมพร้อมสำหรับการอพยพเร่งด่วน นอกจากนี้ยังทรงเห็นว่าการประทับที่สวิตเซอร์แลนด์ระหว่างสงครามจะเป็นขวัญกำลังใจให้แก่ชาวสวิส
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดชรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช • สมเด็จพระบรมราชชนนีแห่งพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ - การถวายข้อเสนอแนะแก่พระโอรส โปรดให้พระโอรสธิดาตัดสิน พระราชหฤทัยเรื่องคู่ครองโดยอิสระ ไม่ทรงแนะยุ่งเกี่ยว - การดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เมื่อพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเยือนต่าง ประเทศรวม 10 ครั้ง - การวางแนวทางด้านการศึกษา ทรงใส่พระราชหฤทัยการศึกษาของพระโอรส ธิดา มาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ขณะเดียวกันก็ทรงใช้เวลาว่างเข้าศึกษาวิชาต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยโลซานน์เช่นเดียวกันด้วย เพราะทรงเห็นคุณค่าของการแสวงหาความรู้ที่ทำได้ตลอดชีวิต
สมเด็จย่าของปวงชนชาวไทยสมเด็จย่าของปวงชนชาวไทย - พระราชจริยวัตรที่เป็นแบบอย่างแห่งสังคม หลักการสำคัญคือ การเป็นคนดี มีความมัธยัสถ์ อดออม ซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ รู้จักการทำกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง มีคุณธรรม จิตกุศลเอื้อเฟื้อสงเคราะห์ผู้อื่น - ช่วยเหลือสนับสนุนโครงการสาธารณสุขและสังคมสงเคราะห์ - การช่วยเสริมสร้างเอกภาพของบ้านเมือง โครงการสงเคราะห์ต่าง ๆ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระศรีนครินทรา -บรมราชชนนี และพระบรมวงศานุวงศ์ ได้ช่วยจรรโลงสังคมไทยให้ คงความเป็นเอกภาพ ขจัดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจได้ในระดับหนึ่ง ช่วยแก้ไขปัญหาการประสบภัยพิบัติและภาวะการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ ฯลฯ
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระราชกรณียกิจต่อราษฎร
ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขด้านการแพทย์และการสาธารณสุข • มูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทร์ (พอ.สว.) - ถือกำเนิดจากพระราชดำริในสมเด็จพระศรีนครินที่โปรดให้จัดตั้งหน่วยแพทย์อาสาประจำพระองค์ โดยมีวัตถุประสงค์จะบรรเทาความทุกข์ยากด้านการแพทย์และสาธารณสุขแก่ประชาชนในท้องถิ่นทุรกันดารโดยไม่คิดมูลค่า ไม่เลือกเชื้อชาติหรือศาสนา - เป็นหน่วยแพทย์อาสาเคลื่อนที่ที่เดินไปในถิ่นทุรกันดาร ประกอบด้วย แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและสมาชิกสมทบอีกคณะหนึ่ง ซึ่งไม่ได้รับสิ่งตอบแทนและเบี้ยเลี้ยง เงินเดือน
- อาสาสมัครในระยะแรกมาจากบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขในจังหวัดเชียงใหม่ เจ้าหน้าที่ทุกคนจะมีบัตรประจำตัวและสวมเครื่องหมายเฉพาะของหน่วย เป็นเสื้อสีเทา กระเป๋าสีเขียวปักตราประจำหน่วยงาน ทั้งนี้เพื่อความมีระเบียบและความปลอดภัยของอาสาสมัคร “หมอกระเป๋าเขียว”
พระราชกรณียกิจของ พอ.สว. สะท้อนพระราชจริยวัตร • การประหยัดและความเรียบง่าย - กำหนดจำนวนคณะผู้ตามเสด็จเพียง 35 – 40 คน ซึ่งต้องสามารถปฏิบัติหน้าที่อันหลากหลาย และใช้จ่ายประหยัดเรื่องอาหารและที่พัก • การออกกำลังกาย - โปรดการเสด็จพระราชดำเนินและการเล่นกีฬาเปตอง ซึ่งเป็นเครื่องประสานความสามัคคีในกลุ่มได้เป็นอย่างดี • ความเอาพระราชหฤทัยใส่เจ้าหน้าที่และผู้ตามเสด็จที่ช่วยในการปฏิบัติพระราชกิจ - ทรงดูแลในเรื่องที่พัก อาหาร และเครื่องใช้ มิให้บกพร่อง
มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี - จัดตั้งเมื่อ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2535 เพื่อทำขาเทียมและพระราชทานให้แก่ผู้พิการขาขาดที่ยากจนในชนบท โดยไม่เลือกเชื้อชาติ ศาสนา และไม่คิดมูลค่า ซึ่งมูลนิธิขาเทียมฯนี้ ทรงก่อตั้งร่วมกับสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์โดยพระองค์ท่านพระราชทานพระราชทรัพย์เป็นทุนประเดิมในการก่อตั้งมูลนิธิและทรงดำรงตำแหน่งประธานกิตติมศักดิ์อีกด้วย • มูลนิธิถันยรักษ์ ที่โรงพยาบาลศิริราช - เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2538 เพื่อใช้เป็นสถานที่ตรวจวินิจฉัยเต้านม
ด้านการศึกษา • รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว - ได้พระราชทานเงินตำแหน่งสะใภ้หลวงปีละ 200 บาท ช่วยเหลือนักเรียนที่เรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล - ปี พ.ศ. 2482 ได้พระราชทานทุนการศึกษาจำนวน 5,000 บาท แก่โรงเรียนสตรีวิทยา - ได้พระราชทานเงินจำนวน 500,000 บาท แก่คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ทรงพระราชทานเงินรายปีสมทบทุนเก็บดอกผลช่วยการศึกษาของนักเรียนพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัย คณะแพทยศาสตร์ ฯลฯ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช - ทรงเป็นองค์ประธานมูลนิธิอานันทมหิดล จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2498 ได้จัดสรรทุนการศึกษาสาขาต่าง ๆ ในต่างประเทศตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ขึ้นไปถึงระดับสูงสุดโดยมิได้มีเงื่อนไขผูกพันหลังเรียนจบ - พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดสร้างโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในจังหวัดต่าง ๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2507 – 2528 จำนวน 23 แห่ง - ทรงรับสมาคมนักเรียนเก่าและสมาคมบางแห่งในในพระอุปถัมภ์ เช่น สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย สมาคมศิษย์เก่าพยาบาลศิริราช ฯลฯ - พระราชทานเงินจำนวน 200,000 บาท จัดสร้างหอพักธรรมนิวาส สำหรับเป็นที่พักของนักเรียนที่ขัดสน
- ทรงให้การอุปถัมภ์แก่โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนซึ่งมีที่มาจากการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนประชาชนในท้องถิ่นทุรกันดาร ตามข้อมูล พ.ศ. 2539 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนมีจำนวนถึง 670 โรง และกระจายอยู่ทุกภูมิภาค
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีกับโรงเรียนสตรีวิทยาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีกับโรงเรียนสตรีวิทยา • 3 ตุลาคม พ.ศ. 2496 ทรงเป็นองค์ประธานในงานครึ่งศตวรรษโรงเรียนในฐานะเป็นองค์อุปถัมภ์ ทรงเปิดตึกวิทยาศาสตร์และทอดพระเนตรการแสดงที่หอประชุม • 10 มิถุนายน พ.ศ. 2499 เสด็จงานประชุมสามัญประจำปีของสมาคมผู้ปกครองและครูสตรีวิทยา • 29 กันยายน พ.ศ. 2512 ทรงวางศิลาฤกษ์อาคารหลังใหม่ที่ปลูกแทนที่หอประชุมหลังตึก 3 ชั้น และบ้านพักครู
20 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 ทรงเปิดอาคารหลังใหม่และหอประชุม • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เสด็จพระราชดำเนินไปวางศิลาฤกษ์อาคาร 5 ชั้น สร้างแทนที่แนวสน • 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานในพิธีเปิดงานเฉลิมพระชนมพรรษา และฉลอง 80 ปี สตรีวิทยา
ด้านการประชาสงเคราะห์ด้านการประชาสงเคราะห์ • มูลนิธิสงเคราะห์ตำรวจตระเวนชายแดนและครอบครัว • มูลนิธิส่งเสริมผลผลิตชาวเขาไทยในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี - การสอนชาวเขาให้ปรับปรุงคุณภาพงานศิลปหัตถกรรม - การจัดแสดงแบบเสื้อที่ตัดเย็บด้วยผ้าชาวเขา • มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทรา -บรมราชชนนี - ขยายงานมาสู่การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย แก้ไขสิ่งแวดล้อมในชุมชนเสื่อมโทรม และช่วยเหลือชาวชนบทที่ยากไร้ จึงได้เปลี่ยนชื่อจาก “มูลนิธิส่งเสริมผลผลิตชาวเขาไทย” เป็น “มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง”
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร • โครงการพัฒนาดอยตุง มีโครงการสำคัญ ๆ ได้แก่ - โครงการปลูกป่าเทิดพระเกียรติ 90 พรรษา สมเด็จย่า พ.ศ. 2533 - โครงการปลูกป่าเศรษฐกิจและโครงการปลูกไม้ดอกไม้ใบให้ร่มเงา ไม้ใหญ่ใน พ.ศ. 2532 - โครงการพัฒนาการผลิตเห็ดเศรษฐกิจ - โครงการส่งเสริมการเกษตรและอุตสาหกรรมปอสา - โครงการขยายพันธุ์ไม้มีค่าและหายากโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ - โครงการพัฒนาการปลูกข้าวญี่ปุ่น
- งานด้านหัตถกรรม - โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ดอก โดยเฉพาะไม้เมืองหนาว - จัดตั้งศูนย์บำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดบ้านผาหมี - โครงการสวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวงบนดอยช้างมูบ - สวนแม่ฟ้าหลวง
ด้านการพระศาสนา • การปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา - ทรงเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม อันมีพรหมวิหารธรรม สังคหวัตถุธรรม และขันติธรรม • การเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนา - การจัดแสดงธรรมปาฐกถา - การจัดพิมพ์หนังสือธรรมทางพระพุทธศาสนา - การจัดบรรยายธรรมทางวิทยุ • โครงการจัดทำปทานุกรมบาลี – ไทย • การปั้นพระพุทธรูป