210 likes | 401 Views
เดือนตุลาคม 2554. รายงานการปฏิบัติงานวิเทศสัมพันธ์ ภาคพายัพ เชียงใหม่. การหารือระหว่างผู้แทนจังหวัดเชียงใหม่กับผู้แทนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เซี่ยง ไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน การประชุมร่วมวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงาน วิเทศสัมพันธ์ ภาคพายัพ เชียงใหม่
E N D
เดือนตุลาคม 2554 รายงานการปฏิบัติงานวิเทศสัมพันธ์ ภาคพายัพ เชียงใหม่
การหารือระหว่างผู้แทนจังหวัดเชียงใหม่กับผู้แทนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน • การประชุมร่วมวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงาน วิเทศสัมพันธ์ ภาคพายัพ เชียงใหม่ • ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ที่มีต่อนักศึกษา IAESTE Thailand ประจำปีการศึกษา 2554
การประชุมร่วมวางแผนยุทธศาสตร์ด้านงานวิเทศสัมพันธ์ ภาคพายัพ เชียงใหม่ วันที่ 26 ตุลาคม 2554 เวลา 10.00-13.00 น. ณ ห้องประชุมกองกลาง อาคารอำนวยการ • หัวข้อการประชุม • การเตรียมความพร้อมและพัฒนาบัณฑิตเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • Cultural Camp • การแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษากับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ • Chongqing Technology and Business University(CTBU) • Chongqing University of Technology(CQUT) • Southern Taiwan University(STUT) • การบูรณาการระหว่างงานวิเทศสัมพันธ์ ภาคพายัพ เชียงใหม่ / • งานวิเทศสัมพันธ์ คณะ / ศูนย์การจัดการศึกษาพิเศษ(จอมทอง) / • วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ ดอยสะเก็ด
ข้อสรุปจากการประชุมฯ • ตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน วิเทศสัมพันธ์แต่ละคณะ ร่วม กำหนดแผนยุทธศาสตร์ พร้อมทั้ง ตั้งเป็นแนวปฏิบัติ • อาจจะจัดตั้งคณะกรรมการเป็น 2 ชุด คือ ด้านการบริหาร และการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ ซึ่งจะประกอบไปด้วยตัวแทนจากคณะ คณะละ 2 ท่าน
นำร่องการแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา ตลอดไปจนถึงประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ มทร.ล้านนา มีความร่วมมือทั้งทางด้านวิชาการและวัฒนธรรมด้วย ข้อเสนอแนะที่ได้จากที่ประชุมฯ • จัดทำโครงการส่งอาจารย์และนักศึกษา ศึกษาดูงาน ณ มหาวิทยาลัยต่างประเทศเป็นกลุ่ม โดยทาง มทร.ล้านนา สนับสนุนงบประมาณบางส่วน • การแลกเปลี่ยนในรูปแบบการเรียนภาษาควรจะมีระยะเวลาประมาณ 2 เดือน
กำหนดภาระงานที่ชัดเจนของงานวิเทศสัมพันธ์ฯกำหนดภาระงานที่ชัดเจนของงานวิเทศสัมพันธ์ฯ • แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนการจัดทำแผนการดำเนินงานของงานวิเทศสัมพันธ์ฯ • ทบทวนทิศทางการดำเนินงานของหน่วยงานวิเทศสัมพันธ์ ของเขตพื้นที่ คณะ และมหาวิทยาลัย
ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ ที่มีต่อนักศึกษา IAESTE Thailand ประจำปีการศึกษา 2554 • ประเมินโดยนักศึกษาของ มทร.ล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ สาขาที่นักศึกษาเข้าแลกเปลี่ยน จำนวน 200 คน • ผลการประเมินโดยภาพรวม ความพึงพอใจเท่ากับ 82 %
94% 97% 76% 72% 72%
ประเมินจากหัวข้อความคิดเห็นประเมินจากหัวข้อความคิดเห็น ระดับคะแนน หัวข้อความคิดเห็น
จากผลการประเมินพบว่านักศึกษาแลกเปลี่ยนได้รับการประเมินในระดับดีมากดังข้อต่อไปนี้จากผลการประเมินพบว่านักศึกษาแลกเปลี่ยนได้รับการประเมินในระดับดีมากดังข้อต่อไปนี้ • ความตั้งใจและความกระตือรือร้นในการสอน • บรรยากาศในชั้นเรียนมีความอบอุ่น เน้นความร่วมมือ ไม่เน้นการแข่งขัน ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน มีความเป็นประชาธิปไตย ให้คุณค่ากับความคิดเห็นและกระบวนการคิดของผู้เรียน • ใช้สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทำให้นักศึกษาเกิดความสนใจและอยากเรียนรู้มากยิ่งขึ้น เช่น อุปกรณ์ ตัวอย่างของจริง หนังสือ ตำรา คู่มือ เว็บไซต์หรือการได้เสวนากับผู้เชี่ยวชาญ และการประเมินในระดับน้อยมากคือหัวข้อต่อไปนี้ • จัดเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน • คุณสมบัติโดยรวมของผู้สอน
การหารือระหว่างผู้แทนจังหวัดเชียงใหม่กับผู้แทนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน วันจันทร์ที่ 17 ตุลาคม 2554 ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคารอำนวยการ ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่
ทำไมต้องมี “เมืองอัจฉริยะ” ปัจจัยที่ท้าทาย • จำนวนประชากร • สุขภาพ • จราจร • พลังงาน • Credit • การรับบริการจากภาครัฐของประชาชน
ตัวอย่างเมืองอัจฉริยะตัวอย่างเมืองอัจฉริยะ
ตัวอย่างเมืองอัจฉริยะ ด้านสุขภาพ
หลักการของเมืองอัจฉริยะ Concept • มุ่งเน้นประชาชนเป็นหลัก ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะในทุกอุตสาหกรรมอย่างเต็มที่ • เชื่อมต่อทุกสิ่งเข้ากับอินเตอร์เน็ท=>พลวัตร การรับรู้ • เขื่อมโยงกัน => แชร์ ประสานกัน • อัจฉริยะ=> มีการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ • นวัตกรรม=> การจัดการ บริการ
องค์ประกอบของเมืองอัจฉริยะองค์ประกอบของเมืองอัจฉริยะ • อุปกรณ์พื้นฐาน • sensor • Platform • แหล่งข้อมูล • การประยุกต์ใช้ปัญญา • ประเภทบริการ • อุตสาหกรรม • ยกระดับอุตสาหกรรม • ความปลอดภัย
แนวทางความร่วมมือ => บูรณาการ • ควรที่จะวางแผนร่วมกัน ทั้งภาครัฐและเอกชน ในการหาความสนใจร่วมกัน ในการสร้างเมืองอัจฉริยะ • สามารถเริ่มได้โดยเชิญวิทยากรจากเซี่ยงไฮ้ มาให้คำบรรยายและหาหัวข้อวิจัยร่วมกัน
Contacts • ดร.ภราดร สุรีย์พงษ์ ผู้อำนวยการศูนย์นวัตกรรมและการจัดการความรู้ • วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มช. • dorn@camt.info • 081 530 0152 • ผศ.สุชานาฎ สิตานุรักษ์ ผู้อำนวยการสถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ • suchasitaa@yahoo.com • 081 952 4064
งานวิเทศสัมพันธ์ ภาคพายัพ เชียงใหม่ ขอขอบคุณ