190 likes | 411 Views
การบริหารจัดการ เพื่อยกกระดับคุณภาพสู่สากล. ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร. Dr.Bundit Sriputtangul. website: www.sriputtangul.com. www.facebook .com/ sriputtangul. e-mail: bundit2@hotmail.com. Office: 02-280-0810. Mobile: 081-864-5035.
E N D
การบริหารจัดการ เพื่อยกกระดับคุณภาพสู่สากล ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร Dr.BunditSriputtangul website: www.sriputtangul.com www.facebook .com/sriputtangul e-mail: bundit2@hotmail.com Office: 02-280-0810 Mobile: 081-864-5035 ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
เปลี่ยนแปลงในบริบทโลก….ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบเปลี่ยนแปลงในบริบทโลก….ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบ การแข่งขันทางธุรกิจและระบบสังคมไทย Major Global Changes Change in Competition Platform & Business Model 1 Technological Change 6Political Change 2 Climate Change Emergence of “the Second Economy” • Conflict • People participation • Disaster • Energy & food security Transforming 3 International Economic Platform Change 5Cultural Change Change in Social System and Interaction 4 DemographicalStructure Change Economic integration & connectivity • Social value change • More individualism Aging Society
สรุปประเด็นการพัฒนาในแผนฯ11สรุปประเด็นการพัฒนาในแผนฯ11 ๙ การสร้าง คน และ สังคมคุณภาพ • การสร้างความเป็นธรรมในสังคม (ยุทธศาสตร์ที่ 1) • การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ (ยุทธศาสตร์ที่ 2) การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ แผนฯ 11 • การสร้างความเข้มแข็งของภาคเกษตรและความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 3) • การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน(ยุทธศาสตร์ที่ 4) • การเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค (ยุทธศาสตร์ที่ 5) การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ • การเตรียมการรองรับความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและสภาพแวดล้อม และการสังคมคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม(ยุทธศาสตร์ที่ 6) ธรรมาภิบาลและการขับเคลื่อนแผนฯ 11
ทบทวนอุตสาหกรรมของไทยที่มีศักยภาพการแข่งขันทบทวนอุตสาหกรรมของไทยที่มีศักยภาพการแข่งขัน • การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการไทย เมื่อปี 2549 ได้กำหนดอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ 5 อุตสาหกรรม(Five Global Niches) ได้แก่ • 1. อุตสาหกรรมอาหาร (Kitchen of the World) • อุตสาหกรรมแฟชั่น (Asia Tropical Fashion) 3. อุตสาหกรรมยานยนต์ (Detroit of Asia) 4. อุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Asia Tourism Capital) 5. อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ (World Graphic Design and Animation Centre) • เมื่อทบทวนศักยภาพของอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ที่ได้กำหนดไว้ในปี 2549 จากการวิเคราะห์ VCCM พบว่า • อุตสาหกรรมอาหารของไทยยังคงเป็นอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพการแข่งขันสูงเนื่องจากจากการวิเคราะห์ VCCM สินค้าที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง 5 ใน 12 สินค้า มาจากสินค้าที่มีพื้นฐานมาจากภาคเกษตร และเป็นสินค้าอาหาร ได้แก่ ข้าว น้ำตาล อาหารทะเลแปรรูปและแช่แข็ง ผักและผลไม้กระป๋อง และเนื้อสัตว์แปรรูป • อุตสาหกรรมแฟชั่นยังมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยอัญมณีและเครื่องประดับเป็นสินค้าในกลุ่มแฟชั่นที่ความสามารถในการส่งออกสูง แม้ว่าจะมีมูลเพิ่มไม่สูงนักแต่เมื่อผนวกกับสินค้าสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจมากทำให้อุตสาหกรรมแฟชั่นยังมีศักยภาพสูง หมายเหตุ: VCCM มีข้อจำกัดในการประเมินความสามารถในการแข่งขันเฉพาะ “สินค้า” ที่มีการส่งออกเท่านั้น โดยไม่สามารถประเมินสินค้าที่ไม่ส่งออก และสาขาบริการส่วนใหญ่ได้
6. ผลิตนักเรียนให้ตรง • กับความต้องการ • ของตลาดแรงงาน • 1. ทำความร่วมมือ • หน่วยงานภาครัฐ • 7. ส่งเสริมการลงทุน • ของภาคเอกชน • 2. ปรับอัตราเงิน • อุดหนุน การยกระดับคุณภาพการศึกษา: Moving Forward with Education Reform นโยบายส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน • 3. ยกระดับคุณภาพ • 8. สร้างภาพลักษณ์ • เป้าหมาย • เพิ่มสัดส่วนผู้เรียน • ในสถานศึกษาเอกชน • ในระบบ เป็นร้อยละ 30 • ภายในปี 2559 • 4. แก้ไขกฎ ระเบียบ • ที่เป็นอุปสรรค • ต่อภาคเอกชน • 9. บริการรวดเร็ว ทันต่อ ความต้องการ • 5. ลดหย่อนภาษี(โรงเรือน/ภาษีนำเข้าสื่อ อุปกรณ์) • 10. กำหนดมาตรการ • ให้ภาคเอกชน • มีส่วนร่วม กลไกการขับเคลื่อน (1) ตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมบทบาทเอกชน โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ภายใน 1 เดือน (2) กำหนดแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนนโยบาย ภายใน 3 เดือน
แนวทางการกำหนดสาระการเรียนรู้แนวทางการกำหนดสาระการเรียนรู้
ปัจจัยดึงดูดผู้มาใช้บริการปัจจัยดึงดูดผู้มาใช้บริการ
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 8 ประการ 1. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน 2. ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู 3. เร่งนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการปฏิรูปการเรียนรู้ 4. พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาให้มีมาตรฐานเทียบได้กับระดับสากล ให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ 5. ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน มากกว่าการขยายเชิงปริมาณ 6. ส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษามากขึ้น 7. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ 8. พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้
การประเมิน PISA • การประเมินสมรรถนะของนักเรียนอายุ 15 ปี • การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) • การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) • การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ผลการประเมินเด็กจีนมีขีดความสามารถสูงในทั้ง 3 ด้าน มีคะแนนเฉลี่ยสูงถึง 75% ติดอันดับ 1 ของโลกอันดับ 2 สิงคโปร์ มีคะแนนเฉลี่ย 63%ส่วนเด็กอเมริกันมีมีคะแนนเฉลี่ยเพียง 32% เด็กไทยมีความสามารถต่ำเป็นลำดับที่ 50 โดยมีเด็กนักเรียนเพียง 8% ที่มา : นิตยสาร Newsweek มาตรฐาน OECD
ผลการทดสอบด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ ๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๕
แนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาอาชีวศึกษาสู่สากลแนวทางการยกระดับคุณภาพการศึกษาอาชีวศึกษาสู่สากล • กําหนดเกณฑ์มาตรฐานซึ่งอิงกับการทำงาน (Work base learning) • กำหนดกรอบหลักสูตรฐานสมรรถนะให้เชื่อมโยงกับกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ (NationalQualificationFramework:NQF) • การสอนจากสถานประกอบการจริง ทำความร่วมมือกับสถานประกอบการ
การดำเนินการในแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (2557-2560) ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน • ปรับภาพลักษณ์การเรียนอาชีวศึกษา (Re - Branding) ด้วยการประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ของนักเรียนอาชีวศึกษาในเชิงบวกให้สังคมได้รับทราบ • ด้านความร่วมมือสนับสนุนให้สถานศึกษาเปิดการเรียนการสอนสองภาษา เช่น ความร่วมมือกับสาธารณรัฐประชาชนจีนจัดการเรียนการสอนในสองรูปแบบ - รูปแบบ 2 + 1 + 2 - รูปแบบ 2 + 2
การดำเนินการในแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (2557-2560) ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน • โครงการแลกเปลี่ยนความร่วมมือด้านการศึกษา เพื่อศึกษาระบบและรูปแบบการจัดการศึกษาของประเทศญี่ปุ่นและ สหราชอาณาจักรอังกฤษ • พัฒนาหลักสูตรสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ในสาขาที่มีความต้องการของสถานประกอบการ อาทิเช่น สาขาวิชาเทคโนโลยีรางรวมกับต่างประเทศ • ขยายโครงการความร่วมมือทางด้านทวิภาคีกับสถานประกอบการ อาทิเช่น บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) เพื่อเพิ่มจำนวนนักเรียนนักศึกษาในอัตราส่วน 51 ต่อ 49
ด้านผู้เรียน • สนับสนุนให้นักเรียนนักศึกษาในกลุ่มประเทศอาเซียน เข้ามาศึกษาต่อด้านอาชีวศึกษาในประเทศไทย โดยจะทำการแก้ไขกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการรับนักเรียนนักศึกษา • สช. จัดทำโครงการยกระดับภาษาต่างประเทศให้กับนักเรียนนักศึกษาในช่วงปิดภาคเรียน (โครงการนำร่อง เดือนตุลาคม 2556) โดยจัดเป็นค่ายภาษาอังกฤษ
ด้านผู้สอน • สถานศึกษาต้องพัฒนาครูผู้สอนด้านอาชีวศึกษา โดยให้ครูต้องปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการมาก่อนจึงจะสามารถสอนในวิชาดังกล่าวได้ หรือให้ครูผู้สอนเข้าฝึกงานในสถานประกอบการจริงช่วงปิดภาคเรียน • สช. มีโครงการอุดหนุนพัฒนาศักยภาพครูภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ โดย มีแผนยกระดับคะแนนผลการทดสอบ V-NET ให้สูงขึ้นร้อยละ 4 ในปีการศึกษา 2557
ด้านสถานศึกษา • สช. มีโครงการยกระดับมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ในปีการศึกษา 2557 ให้ได้ครบทุกสถานศึกษา • สช.ให้การสนับสนุนงบลงทุนเงินกู้ดอกเบี้ย ราคาถูก (อัตราร้อยละ 4) วงเงินงบประมาณ 543,951,133.18 บาท ในการจัดซื้อหรือจัดหาอุปกรณ์และเครื่องมือประกอบการสอน การก่อสร้างอาคารเรียน โรงฝึกงาน
แนวทางการดำเนินงาน.......การเพิ่มคุณภาพการศึกษาเอกชนแนวทางการดำเนินงาน.......การเพิ่มคุณภาพการศึกษาเอกชน 2. คุณภาพการสอนวิชาภาษาไทย นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ต้องอ่านคล่อง เขียนคล่อง เป้าหมาย ปีการศึกษา 2556 3. คุณภาพการสอนวิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนต้องมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงขึ้น 1. คุณภาพการสอนวิชาภาษาอังกฤษ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ต้องสื่อสารภาษาอังกฤษได้ 4. คุณภาพกระบวนการคิด โรงเรียนต้องให้ความสำคัญกับ การพัฒนานักเรียนให้มีกระบวนการคิดได้อย่างถูกต้อง และสร้างสรรค์โดยการนำนวัตกรรมการสอนที่เหมาะสม มาปรับใช้ 5. คุณภาพทักษะชีวิต โรงเรียนต้องให้ความสำคัญกับการ เสริมสร้างทักษะชีวิตนักเรียน ด้วยการบูรณาการ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ โดย...ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
แนวทางการดำเนินงาน.......การเพิ่มคุณภาพการศึกษาเอกชนแนวทางการดำเนินงาน.......การเพิ่มคุณภาพการศึกษาเอกชน เป้าหมาย ปีการศึกษา 2556 7. คุณภาพโรงเรียนนานาชาติ ทุกโรงเรียนต้อง ได้รับการรับรองจากสถาบันรับรอง มาตรฐานสากล 6. คุณภาพโรงเรียนอาชีวศึกษา นักเรียนที่จบ การศึกษาทุกสาขาและประสงค์จะทำงาน ต้องมีงานทำ 8. คุณภาพโรงเรียนนอกระบบ ทุกโรงเรียนต้องมี การจัดทำระบบการประกันคุณภาพภายใน โดย...ดร.บัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน