90 likes | 579 Views
อองซาน ซูจี. ประวัติของอองซาน ซูจี. เกียรติของ ออง ซาน ซู จี. ภาพที่ประทับใจของอองซาน ซูจี. ความสำเร็จของออง ซานซู จี. ความรักของอองซาน ซูจี. ผลงานของอองซานซูจี. ประวัติของออง ซานซูจี.
E N D
ประวัติของอองซาน ซูจี เกียรติของอองซาน ซูจี ภาพที่ประทับใจของอองซาน ซูจี ความสำเร็จของอองซานซูจี ความรักของอองซาน ซูจี ผลงานของอองซานซูจี
ประวัติของออง ซานซูจี • ออง ซาน ซูจี, เกิด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2488) เป็นนักการเมืองฝ่ายค้านของพม่าและเลขาธิการพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2533 พรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยของเธอได้รับเสียง 59% ของทั้งประเทศ และได้ 392 จาก 485 ที่นั่งในรัฐสภา หรือคิดเป็น 81%[1][2][3][4][5][6][7] อย่างไรก็ดี เธอถูกกักขังอยู่แต่ในบ้านก่อนหน้าการเลือกตั้ง เธอถูกคุมตัวอยู่แต่ใรบ้านเป็นเวลาเกือบ 15 จาก 21 ปี ตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 กระทั่งการปล่อยตัวเธอครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553[8] ต่อไป
ออง ซาน ซูจี เกิดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายนพ.ศ. 2488 ณ ย่างกุ้งพม่าของอังกฤษ (BritishBurma) [11] บิดาของเธอ นายพลอองซาน ผู้ได้รับการสนับสนุนจากประเทศญี่ปุ่น ช่วยให้ญี่ปุ่นยึดพม่าจากสหราชอาณาจักรได้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยมีข้อแลกเปลี่ยนกับทางญี่ปุ่นให้แต่งตั้งตนเป็นนายกรัฐมนตรี อย่างไรก็ดี นายพล ออง ซาน ถูกลอบสังหารเมื่อ วันที่ 19 กรกฎาคมพ.ศ. 2490 เมื่อเธอได้อายุได้ 2 ปี ดอว์ขิ่นจี ผู้เป็นภรรยาของนายพลอองซาน ต้องรับภาระเลี้ยงดูบุตรชายหญิง 3 คนโดยลำพังหลังจากสามีถูกลอบสังหาร ซูจีเป็นลูกคนเล็ก และเป็น
ความสำเร็จของอองซานซูจีความสำเร็จของอองซานซูจี • ในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เธอได้รับการปล่อยตัวจากรัฐบาลทหารพม่า[33] เมื่อวันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน ในปีเดียวกัน เธอได้พบกับบุตรชายคนเล็กครั้งแรก โดยเธอได้รอรับบุตรชายที่สนามบินมิงกะลาดง เธอและบุตรชายได้ปรากฏตัวที่มหาเจดีย์ชเวดากอง เมื่อวันพุธที่ 24 พฤศจิกายน ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่เธอได้อยู่ร่วมกับครอบครัว แม้จะไม่สมบูรณ์ก็ตาม[34] • นอกจากนี้ ซูจี ยังได้เดินทางเพื่อไปตระเวนเยือนยุโรปตลอดเดือนมิถุนายน 2555 โดยนางซูจีเดินทางไปเยือนสวิตเซอร์แลนด์เป็นชาติแรกในยุโรป จากนั้นเดินทางต่อไปยังนอร์เวย์ เพื่อไปรับรางวัลโนเบลสันติภาพด้วยตัวเอง
เกียรติยศของอองซาน ซูจี • รัฐบาลภายใต้กฎอัยการศึก สั่งกักบริเวณซูจีให้อยู่แต่ในบ้านพักเป็นครั้งแรก เวลา 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคมพ.ศ. 2532 ซึ่งต่อมาขยายเป็น 6 ปี และได้จับกุม สมาชิกพรรคจำนวนมากไปคุมขังไว้ที่ คุกอินเส่ง ซูจีประกาศจะอดอาหารเพื่อประท้วง และเรียกร้องขอให้นำสมาชิกพรรคคนอื่นๆ มาอยู่ที่เดียวกันในบ้านพักของเธอ โดยเวลานั้นอเล็กซานเดอร์และคิมอยู่กับมารดาด้วย ไมเคิลจากอังกฤษมาที่ย่างกุ้ง เพื่อเป็นกำลังใจให้ภรรยา ซึ่งในที่สุด ซูจีมิได้อดอาหารประท้วงโดยอ้างว่ารัฐบาลได้ให้สัญญา • 27 พฤษภาคมพ.ศ. 2533แม้ว่าซูจียังคงถูกกักบริเวณอยู่ แต่พรรคเอ็นแอลดี ก็
ผลงานของอองซานซูจี • การปล่อยตัวจากการกักบริเวณครั้งนี้ ซูจี ได้ปราศรัยต่อฝูงชนที่มาชุมนุมอยู่หน้าบ้านของเธอ และตระเวนหาเสียงในหลายพื้นที่ อย่างไรก็ตาม ในบางครั้งบางพื้นที่จะมีฝูงชนที่ไม่พอใจ ซูจี พยายามทำร้ายเธอและเพื่อนร่วมคณะ โดยใช้ก้อนหินขว้างปาเข้าใส่รถของเธอจนเสียหาย จากนั้น เมื่อเธอพยายามเดินทางออกจากบ้านพัก จึงมีเจ้าหน้าที่รัฐติดตามไปทุกแห่ง ซูจี จึงให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชนว่าเธอยังคงรู้สึกเหมือนถูกติดตามความเคลื่อนไหว ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมทางการเมืองได้อย่างอิสระ • แนวทางการต่อสู้ทางการเมืองของ ซูจี นั้น เธอปฏิเสธไม่ดำเนินการตาม ต่อไป
ภายหลังการปราศรัยปลุกระดมมวลชนที่สนับสนุนเธอให้ต่อสู้เพื่อล้มรัฐบาล ซูจี จึงถูกกักบริเวณเป็นครั้งที่สอง เป็นเวลา 18 เดือน ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายนพ.ศ. 2543 และได้รับอิสรภาพ จากการกักบริเวณครั้งนี้เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2545 โดยในวันที่ 8 ธันวาคมพ.ศ. 2544 ขณะที่ทั่วโลกร่วมกันเฉลิมฉลองวาระครบรอบหนึ่งร้อยปี ของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ พร้อมกับฉลองวาระครบสิบปีซ้ำจี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ นางออง ซาน ซูจี ผู้นำพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย