1 / 43

โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน

โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน. โครงการสินเชื่อ เพื่อพัฒนาและส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน. ทรงศักดิ์ วงศ์ภูมิวัฒน์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร. เป็นโครงการความร่วมมือ 3 ฝ่าย :. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ธนาคารออมสิน

urit
Download Presentation

โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

  2. โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ทรงศักดิ์ วงศ์ภูมิวัฒน์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

  3. เป็นโครงการความร่วมมือ 3 ฝ่าย : • กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ธนาคารออมสิน • มูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทย ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

  4. เจตนารมณ์ • เพื่อร่วมกันพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ผ่านการเสริมสร้างกระบวนการพัฒนาศักยภาพ • ขยายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนที่สอดคล้องกับความต้องการของวิสาหกิจชุมชน

  5. วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมความเข้มแข็งวิสาหกิจชุมชนในการประกอบกิจการ 2. สนับสนุนสินเชื่อ หรือเงินทุนประกอบการ 3. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”

  6. เป้าหมาย • วิสาหกิจชุมชน • ดำเนินการ 3 ปี • ปี 2550 2,000 วิสาหกิจชุมชน • ปี 2551 3,000 วิสาหกิจชุมชน • ปี 2552 4,000 วิสาหกิจชุมชน

  7. หลักการ 1. สมาชิกวิสาหกิจชุมชนต้องมีปณิธาน : ลดรายจ่าย- เพิ่มรายได้-อดออม ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”2. หน่วยงานภาคี 3 ฝ่าย ร่วมมือกันพัฒนา/เสริมสร้าง ศักยภาพวิสาหกิจชุมชน3. ธนาคารออมสิน ให้การสนับสนุนสินเชื่อ หรือ เงินทุนประกอบการ

  8. ประโยชน์ที่ได้รับ • วิสาหกิจชุมชน / จนท. ได้ร่วมกันศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง • วิสาหกิจชุมชนได้รับโอกาสเข้าถึงแหล่งทุน • วิสาหกิจชุมชนบริหารจัดการโครงการ/กิจกรรม ด้วยตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • จนท. ได้รับการพัฒนาความรู้และกระบวนการทำงานร่วมกันเป็นทีม • เกิดเครือข่ายการทำงานร่วมกัน

  9. บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตรบทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร กรม : • วางรูปแบบโครงการ • สนับสนุนเครื่องมือและงบประมาณ • สนับสนุนวิชาการ • ติดตาม นิเทศ ประเมินผล • สรุปบทเรียน

  10. บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ)บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ) เขต : • ติดตามนิเทศ ประเมินผลการดำเนินงาน ของจังหวัดในความรับผิดชอบ • สนับสนุนวิชาการ

  11. บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ)บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ) จังหวัด : • ประสานความร่วมมือดำเนินงานร่วมกับออมสินสาขาจังหวัด • ประกาศรับสมัครวิสาหกิจชุมชนเข้าร่วมโครงการฯ • จัดกระบวนการพัฒนาศักยภาพ ให้แก่วิสาหกิจชุมชน / จนท.อำเภอ (เกษตร และออมสิน) • สรุปรายชื่อ/ที่อยู่ วิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ส่งกรมฯ และสำเนาส่งเขต • ติดตามนิเทศ การดำเนินงานของอำเภอ

  12. บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ)บทบาทกรมส่งเสริมการเกษตร(ต่อ) อำเภอ : • ประสานความร่วมมือดำเนินงานร่วมกับออมสินสาขาพื้นที่ • รับสมัคร และตรวจสอบคุณสมบัติ • เป็นพี่เลี้ยงศึกษาเรียนรู้ร่วมกับวิสาหกิจชุมชน • เพื่อทำกิจกรรม/โครงการของวิสาหกิจชุมชน • สรุปรายชื่อ ที่อยู่ วิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯ ส่งจังหวัด / ออมสินสาขาที่วิสาหกิจชุมชนสมัครเป็นสมาชิก สพช. • ติดตามนิเทศ การดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน

  13. ธนาคารออมสิน

  14. บทบาทของธนาคารออมสิน เป็นสถาบันการเงินหลักของวิสาหกิจชุมชน โดยส่งเสริมการออมเพื่อเสริมสร้างวินัยทางการเงินในชุมชน รวมทั้งการให้สินเชื่ออย่างสร้างสรรค์แก่วิสาหกิจชุมชนเพื่อให้มีโอกาสดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง มั่นคง และยั่งยืนรวมทั้งบริการทางการเงินอื่นๆ ตามความต้องการของวิสาหกิจชุมชนอย่างครบวงจร ควบคู่ไปกับการพัฒนาศักยภาพให้สามารถพึ่งพาตนเองได้

  15. บทบาทของธนาคารออมสิน (ต่อ) • สนับสนุนงบประมาณ • สนับสนุนด้านวิชาการ ติดตามและประเมินผล • ประสานความร่วมมือดำเนินงานร่วมกับ เจ้าหน้าที่เกษตรในพื้นที่

  16. มูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทย ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี วิเชียร ศรีลูกหว้า ผู้อำนวยการมูลนิธิฯ

  17. บทบาทมูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทยฯบทบาทมูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทยฯ • ประสานงานกลาง / ให้คำปรึกษาการจัดการและ การบริหารโครงการฯ • ฝึกอบรม SEAL(Sufficiency Economy Active Learning) • เตรียมการJAEC เพื่อเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน • ประสานสำนักพระราชวัง เพื่อขอรับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระเทพฯ

  18. กิจกรรม

  19. ขั้นตอนโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนขั้นตอนโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ลงนาม MOU : 19 มีนาคม 2550 พัฒนาโครงการ: มีค. – เมย. 50 ประชุมชี้แจงโครงการและประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่ เมย. 50 • - ประชาสัมพันธ์โครงการ ตั้งแต่ เมย. 50 • - ประชุมชี้แจงโครงการฯ 2 พค. 50 สนง.กษอ รับสมัครวิสาหกิจชุมชน พค. – มิย. 50 - ผลิตคู่มือ/สื่อเรียนรู้ เมย. – มิย. 50 - ประชุมชี้แจงทีมวิทยากรจังหวัด กค. 50 - ทีมจังหวัดพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน ของ ทีมอำเภอ กค. 50 - ทีมอำเภอสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนจัดทำ โครงการ (ขอรับสินเชื่อ / ไม่ขอรับสินเชื่อ) กค. – กย. 50 พัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชน เมย. – มิย. 50 ออมสิน ตรวจสอบวิเคราะห์ / อนุมัติสินเชื่อ 2550 - 2552 ติดตามนิเทศ/ ประเมินผล :กค. – ธค. 50 สรุปบทเรียน :มค. 51

  20. กิจกรรมที่ 1การประชาสัมพันธ์ 1. ประชุมชี้แจงการบริหารจัดการโครงการฯ2. ผลิตคู่มือ / สื่อ3. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทางสื่อ

  21. กิจกรรมที่ 2 การรับสมัคร • สำนักงานเกษตรจังหวัดประกาศรับสมัครวิสาหกิจชุมชน- วิสาหกิจชุมชนกรอกใบสมัคร- สำนักงานเกษตรอำเภอรับสมัคร / ตรวจสอบคุณสมบัติ- สำนักงานเกษตรอำเภอสรุปรายชื่อ / ที่อยู่วิสาหกิจชุมชน ส่งสำนักงานเกษตรจังหวัด และออมสินสาขาที่วิสาหกิจ ชุมชน สมัครเป็นสมาชิก สพช. ทุกวันที่ 25- สำนักงานเกษตรจังหวัดสรุปรายชื่อ / ที่อยู่วิสาหกิจชุมชน ส่งกรมส่งเสริมการเกษตร และสำเนาส่งเขตทุกวันที่ 30

  22. กิจกรรมที่ 2 การรับสมัคร

  23. กิจกรรมที่ 3การพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ • จัดทำคู่มือ / สื่อเรียนรู้ประชุมชี้แจงกระบวนการพัฒนาฯการพัฒนาทักษะและกระบวนการทำงาน โดยมุ่ง ผลสัมฤทธิ์  การศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง ในการดำเนิน โครงการ/ กิจกรรมวิสาหกิจชุมชน

  24. การพัฒนาทักษะและกระบวนการทำงาน โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ “ทีมบูรณาการโครงการฯ จังหวัด” - เจ้าหน้าที่จังหวัด / อำเภอ / ออมสิน รวม 5 คน - เป็นวิทยากร - ทำงานเป็นทีม

  25. การพัฒนาทักษะและกระบวนการทำงาน โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ “ทีมบูรณาการโครงการฯ จังหวัด” ดำเนินการพัฒนาทักษะและกระบวนการทำงานฯ ให้แก่ - ผู้แทนวิสาหกิจชุมชน - เกษตรอำเภอ - จนท. ส่งเสริมการเกษตร - จนท. ออมสินสาขา

  26. การศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมวิสาหกิจชุมชนการศึกษาเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมวิสาหกิจชุมชน จนท. ส่งเสริมการเกษตร และออมสินสาขาพื้นที่ จัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนจัดทำโครงการ/กิจกรรม

  27. กิจกรรมที่ 4การตรวจสอบ วิเคราะห์ อนุมัติสินเชื่อ ภารกิจของธนาคารออมสิน ให้การสนับสนุนสินเชื่อ หรือเงินทุนประกอบการอย่างสร้างสรรค์ ควบคู่กับการพัฒนาบริการทางการเงิน ให้สนองความต้องการวิสาหกิจชุมชนอย่างครบวงจร

  28. การให้บริการทางการเงินการให้บริการทางการเงิน สินเชื่อเพื่อส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ธนาคารออมสินได้พัฒนาธุรกิจสินเชื่อ เพื่อรองรับกลุ่มลูกค้าวิสาหกิจชุมชน โดยตรงตามคำสั่งธนาคารออมสินที่ 61/49 ลงวันที่ 19 กันยายน 2549

  29. คุณสมบัติของผู้กู้ • เป็นวิสาหกิจชุมชนที่ได้จดทะเบียน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548 • เป็นสมาชิกโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท(สพช.) ของธนาคารออมสิน • เข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาและส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

  30. วัตถุประสงค์การกู้ • ปรับปรุงหรือขยายกิจกรรมที่ทำอยู่เดิม • ลงทุนใหม่ในกิจกรรมเพื่อการผลิตหรือการค้า • ลงทุนในสาธารณะประโยชน์ และมีแผนการจัดเก็บเงินเพื่อใช้คืนเงินกู้ • เป็นเงินทุนหมุนเวียนที่เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มหรือ สมาชิก

  31. จำนวนเงินกู้ ไม่เกิน 500,000 บาท พิจารณาตามแผนงาน หรือโครงการ และความสามารถในการชำระคืน ระยะเวลาชำระเงินกู้ ไม่เกิน 5 ปี โดยชำระเป็นงวดรายเดือน 2 เดือน 3 เดือน 4 เดือน 6 เดือน หรือรายปี ตามความสามารถหรือลักษณะกิจกรรมของกลุ่ม

  32. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ • ตามประกาศธนาคาร ปัจจุบันอัตราร้อยละ 6 ต่อปี หลักประกันเงินกู้ • ใช้บุคคลค้ำประกัน

  33. วิธีดำเนินการ 1. สมัครเป็นสมาชิก สพช. (สพช. 101) ที่ธนาคารออมสินสาขา ที่ใกล้กับกลุ่มพร้อมทั้งเอกสารประกอบ ดังนี้ - รายชื่อคณะกรรมการบริหาร พร้อมระบุตำแหน่งของแต่ละคน - มติที่ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และผู้มีอำนาจ ในการสั่งจ่ายเงินจากบัญชีกลุ่ม - สำเนาบันทึกรายงานการประชุมเห็นชอบให้สมัครเป็นสมาชิก สพช. - รายชื่อสมาชิก - เอกสารแสดงการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน

  34. วิธีดำเนินการ (ต่อ) 2. ยื่นแบบคำขอกู้ (สพช. 102) และเอกสารประกอบการ ขอกู้เงิน ดังนี้ • มติการประชุมเรื่องการขอกู้เงินจากโครงการสินเชื่อเพื่อ พัฒนาชนบทธนาคารออมสิน • งบแสดงฐานะทางการเงิน งบกำไรขาดทุน, งบดุล(ถ้ามี) • สำเนารายงานยอดเงินฝากธนาคาร • ผลการดำเนินกิจการของกลุ่มด้านการพัฒนาชนบท อย่างน้อย 6 เดือน (ถ้ามี)

  35. วิธีดำเนินการ (ต่อ) - สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของคณะกรรมการ - สำเนาทะเบียนบ้านของคณะกรรมการ - สำเนาโฉนดที่ดิน หรือน.ส. 3 ก (กรณีใช้ที่ดิน ค้ำประกัน) - แผนผังที่ตั้งโครงการ และหรือที่ดินที่นำมาจำนอง

  36. วิธีดำเนินการ (ต่อ) 3 .ธนาคารพิจารณาวงเงินให้กู้ตามแผนงาน หรือ โครงการ รวมทั้งความสามารถในการชำระคืนตามความเหมาะสม และไม่เกินความสามารถในการบริหารของกลุ่ม สถานที่ดำเนินการ ธนาคารออมสินสาขาทุกสาขาทั่วประเทศ

  37. กิจกรรมที่ 5การติดตาม นิเทศ ประเมินผล 1. เพื่อให้มีการนำโครงการ/กิจกรรมของวิสาหกิจชุมชน และประเด็นความต้องการพัฒนาตนเองของวิสาหกิจชุมชน ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม 2. เพื่อสนับสนุนด้านวิชาการและการบริหารจัดการโครงการ แก่วิสาหกิจชุมชนและเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ 3. เพื่อรับทราบและรวบรวมปัญหาอุปสรรคที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมและหาแนวทางการแก้ไขร่วมกัน

  38. กิจกรรมที่ 5การติดตาม นิเทศ ประเมินผล - กรมส่งเสริมการเกษตร - ธนาคารออมสิน - มูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทยฯดำเนินการ ติดตามนิเทศในทุกระดับ

  39. กิจกรรมที่ 6การสรุปบทเรียน 1. เพื่อสรุปผลการดำเนินงาน ปี 2550 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานโครงการ ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ เพื่อนำไปพัฒนา และปรับปรุงการดำเนินงานโครงการในระยะต่อไป

  40. กิจกรรมที่ 6การสรุปบทเรียน จัดประชุมทีมบูรณาการโครงการฯ จังหวัด รับฟังความคิดเห็น และสรุปบทเรียนร่วมกัน

  41. แผนปฏิบัติงาน

  42. แผนปฏิบัติงาน

  43. หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามได้ที่หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามได้ที่ 1. กรมส่งเสริมการเกษตร โทร. 0-2955-1594 2. ธนาคารออมสิน โทร. 0-2299-8000 ต่อ 101003-9 3. มูลนิธิส่งเสริมยุวเกษตรกรไทยฯ โทร. 0-2561-0944

More Related