1 / 21

คลื่นความร้อน

คลื่นความร้อน. จัดทำโดย นาย วสันต์ สุดหา. หัวข้อที่นำเสนอ. หัวข้อที่นำเสนอ. ปรากฏการณ์ คลื่นความร้อน. ดัชนีค่าความร้อน. บริเวณแหล่งเกิดคลื่นความร้อน. ผลกระทบที่เกิดจากคลื่นความร้อน. ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย เมื่อเกิดคลื่นความร้อน. โอกาสการเกิดปรากฏการณ์คลื่นความร้อนในประเทศไทย.

urit
Download Presentation

คลื่นความร้อน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คลื่นความร้อน จัดทำโดย นาย วสันต์ สุดหา

  2. หัวข้อที่นำเสนอ หัวข้อที่นำเสนอ ปรากฏการณ์ คลื่นความร้อน ดัชนีค่าความร้อน บริเวณแหล่งเกิดคลื่นความร้อน ผลกระทบที่เกิดจากคลื่นความร้อน ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย เมื่อเกิดคลื่นความร้อน โอกาสการเกิดปรากฏการณ์คลื่นความร้อนในประเทศไทย

  3. ปรากฏการณ์ คลื่นความร้อน

  4. คลื่นความร้อน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

  5. นิยามคำว่า คลื่นความร้อน

  6. ระดับอุณหภูมิในอากาศ 36°Cค่าความชื้นสัมพัทธ์ 40% ในตารางแสดงดัชนีค่าความร้อน เท่ากับ38°C เป็นระดับความรู้สึกจริงที่ร่างกายได้รับความร้อน คือ 38°C (ซึ่งเป็นระดับ แจ้งเตือนร้ายแรง) • ทำนองเดียวกัน ระดับอุณหภูมิในอากาศ 36°C (เท่าเดิม) แต่ค่าความชื้นสัมพัทธ์ เป็น 75% ในตารางแสดง ดัชนีค่าความร้อนเท่ากับ 56 °C เป็นระดับความรู้สึกจริงที่ร่างกายได้รับความ ร้อน คือ 56 °C (ซึ่งเป็นระดับ อันตรายร้ายแรง)

  7. ดัชนีค่าความร้อน

  8. ตารางแสดงความเป็นไปได้ จากอันตราย อ้างอิง ดัชนีค่าความร้อน

  9. บริเวณแหล่งเกิดคลื่นความร้อน บริเวณร้อนสุดของโลก เช่น ElAzibya (ลิเบีย)Deathvalley (อเมริกาเหนือ) หรือ TiratTsvi(อิสราเอล) Cloncurry (ออสเตรเลีย) และ Seville (สเปน) ซึ่งเป็นพื้นที่ 5 อันดับร้อนสุดของโลก มีอุณหภูมิสูงถึง 122-136°F ยังไม่มีรายงานการเกิดคลื่นความร้อนอย่างเป็นทางการ คลื่นความร้อน สามารถเกิดขึ้นได้ไม่ว่าที่ใดก็ตาม สิ่งที่น่าสังเกตคือ มักเกิดขึ้นบริเวณสถานที่ ที่มีความร้อนปกติดังประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา เช่นที่ Phoenixและ Arizona ในสหรัฐอเมริกาหรือ NewDelhi ในอินเดีย ทั้งหมดเป็นเหตุการณ์ร้ายแรง

  10. ความหายนะที่เกิดขึ้น จากคลื่นความร้อน

  11. ความหายนะที่เกิดขึ้น จากคลื่นความร้อน • จากอัตราผู้เสียชีวิต ในประเทศอเมริกา (ระหว่าง ค.ศ.1992-2001)มีผู้เสียชีวิตจาก สาเหตุคลื่นความร้อน 2,190 ราย โดยเมื่อเปรียบเทียบกับพายุเฮอริเคน มีผู้เสียชีวิต 150 รายและอุทกภัย มีผู้เสียชีวิต 880 ราย • ประเทศออสเตรเลีย มีรายงานที่บันทึกไว้โดย The Bureau of Meteorology (Australia's national weather) ช่วงปี ค.ศ.1803-1992 มีผู้เสียชีวิตจากสาเหตุคลื่นความร้อนโดยตรง ไม่น้อยกว่า 4,287 ราย โดยตัวเลขนี้เป็นการสูญเสียถึง 2 เท่า เมื่อเทียบกับการเกิดพายุเขตร้อน และอุทกภัยในช่วงเวลาเดียวกัน • ค.ศ.2003 หายนะครั้งใหญ่ European heatwave ครอบคลุมพื้นที่หลายประเทศ มีระยะเวลายาวนาน 9 วัน คร่าชีวิตผู้คนราว 35,000 คน ตัวเลขผู้เสียชีวิตเป็นในประเทศฝรั่งเศส สูงถึง 14,802 ราย ประเทศเยอรมันราว 7,000 ราย ประเทศสเปนและอิตาลี ราว 4,200 ราย และกว่า 2,000 รายในประเทศอังกฤษ และอื่นๆ • สำหรับล่าสุด ปี ค.ศ. 2010 เกิดในประเทศอินเดีย ได้รับรายงานว่ามีผู้เสียชีวิตราว 80 ราย

  12. European ครอบคลุมพื้นที่หลายประเทศ

  13. บรรยากาศเมือง Chicago ฤดูร้อน ปี ค.ศ. 1995 เกิดคลื่นความร้อน 5 วันมีผู้เสียชีวิต 465 ราย ซึ่งก่อนหน้านั้น ในปี ค.ศ. 1988 มีผู้เสียชีวิต 77 รายจากคลื่น ความร้อนเช่นกัน

  14. ผลกระทบที่เกิดจากคลื่นความร้อน 1.ไหม้แดดหรือผิวเกรียม (Sunburn)อาการเกิดรอยแดงและปวดแสบปวดร้อน,เหงื่อผุดออกอย่างรุนแรง,มีรอยพอง , ตัวร้อน,ปวดหัว 2. ตะคริวแดด (Heat cramps) อาการ หดเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ มีอาการปวดและบังคับไม่ได้ มักเป็นที่น่อง ต้นขา และไหล่ หรือในช่องท้อง 3. เพลียแดด (Heat Exhaustion)อาการกระหายน้ำอย่างมาก,อ่อนแรง,ผิวหนังเย็นหน้าซีดและเย็นซีด,ชีพจรเต้นไม่เป็นจังหวะ, ปวดศีรษะ, มึนงง, กระสับกระส่าย, คลื่นไส้ ,อาเจียน 4.ลมแดด (Sunstroke/ Heat stroke) อาการอุณหภูมิร่างการสูงมาก, กระหายน้ำอย่างมาก,ผิวแห้ง, เวียนศีรษะ, ปวดศีรษะ, อาเจียน และกล้ามเนื้อเกร็ง

  15. ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย เมื่อเกิดคลื่นความร้อน • ให้ลดปริมาณงาน หรือกิจกรรมที่ทำกลางแจ้ง หรือกิจกรรมที่เหนื่อยง่าย หากมีความจำเป็น ให้ทำภายในร่ม • ให้สวมเสื้อผ้าสีอ่อนเพื่อสะท้อนแสงอาทิตย์ (สีทึบจะดูดแสง) เพื่อรักษาอุณหภูมิของร่างกาย • ให้รับประทานอาหาร ที่เผาผลาญภายในร่างกายน้อย เช่น ประเภทโปรตีน

  16. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น สำหรับอาการลมแดด

  17. โอกาสการเกิดปรากฏการณ์คลื่นความร้อนในประเทศไทยโอกาสการเกิดปรากฏการณ์คลื่นความร้อนในประเทศไทย • ยังไม่มีรายงานอย่างเป็นทางการ เรื่องปรากฏการณ์คลื่นความร้อนในประเทศไทยด้วยเหตุผลเพราะ ประเทศไทยยังไม่มีการกำหนดเกณฑ์ของ ดัชนีค่าความร้อนต่อการพยากรณ์ • แต่ก็มีแนวโน้มเป็นไปได้เช่นกัน ที่จะเกิดขึ้นได้ ถ้าความชื้นจากทะเลจะพัดเข้ามาปกคลุมประเทศไทย ในขณะที่อากาศร้อน และบรรยากาศชั้นสูงมีอากาศหยุดนิ่งโดยปราศจาก การแผ่มวลอากาศเย็นจากประเทศจีน ลงมาช่วยลดความร้อน

  18. ภาพจากกรมอุตุนิยมวิทยาเปรียบเทียบอุณหภูมิสูงสุดของวันที่ 9 พ.ค.2553 กับอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในรอบ 30 ปี ตั้งแต่ปี 2521-2550

  19. ปรากฏการณ์เอลนีโญ ทำให้ฝนตกหนักทวีปอเมริกาใต้ (ตอนเหนือ)และก่อให้เกิดความแห้งแล้ง ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลียตอนเหนือ

  20. แหล่งข้อมูลอ้างอิง • Heat wave: Wikipedia the free encyclopedia • Heat Wave, American Red Cross • http://www.sunflowercosmos.org/warning_report/warning_report_main/heat_waves.html Heat Index heat chart • http://www.tmd.go.th/ncct/article/Heat%20wave.pdf

More Related