1 / 16

ทฤษฎีบทลิ มิต

ทฤษฎีบทลิ มิต. (Limit Theorem). ทฤษฎีบทลิมิตจะช่วยในการคำนวณค่าลิมิตของฟังก์ชันได้เร็วขึ้น ทฤษฎีบทลิมิตของฟังก์ชันมีผลลัพธ์คล้ายกับทฤษฎีบทลิมิตของลำดับ ที่กล่าวมาในบทที่ 3 ในการพิสูจน์สามารถทำได้โดยใช้นิยามลิมิต ทฤษฎีบท 4.1.2 หรือ ผลที่ได้จากหัวข้อ 3.4.

uriah
Download Presentation

ทฤษฎีบทลิ มิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem)

  2. ทฤษฎีบทลิมิตจะช่วยในการคำนวณค่าลิมิตของฟังก์ชันได้เร็วขึ้นทฤษฎีบทลิมิตของฟังก์ชันมีผลลัพธ์คล้ายกับทฤษฎีบทลิมิตของลำดับที่กล่าวมาในบทที่ 3 ในการพิสูจน์สามารถทำได้โดยใช้นิยามลิมิตทฤษฎีบท 4.1.2 หรือ ผลที่ได้จากหัวข้อ 3.4

  3. ทฤษฎีบท 4.2.1ให้ f, g : Dมี x0เป็นจุดลิมิตของ D, f และ g มีลิมิตที่ x0 แล้ว ( f+g )(x) = f(x) + g(x) (1) f+gมีลิมิตที่ x0 และ g(x) ] ( fg )(x) = [ f(x) ][ (2) fgมีลิมิตที่ x0 และ g(x)  0 แล้ว (3) ถ้า g(x)  0 สำหรับxDและ มีลิมิตที่ x0และ ( ) =

  4. การพิสูจน์ • เนื่องจาก f, g มีลิมิตที่ x0 • ให้เป็นลำดับใดๆที่ลู่เข้าสู่ x0โดยที่ xn x0ทุกๆ n • โดยทฤษฎีบท 4.1.2 ทำให้เป็นลำดับลู่เข้าสู่ f(x) • และ • โดยทฤษฎีบท 3.4.1 เป็นลำดับลู่เข้าและ เป็นลำดับลู่เข้าสู่ g(x) ( f+g )(x) = f(x) + g(x) = f(x) + g(x)

  5. นั่นคือ ฟังก์ชัน f + g มีลิมิตที่ x0และ ( f+g )(x) = f(x) + g(x) ต่อไปจะแสดงว่า fg มีลิมิตที่ x0และ มีลิมิตที่ x0โดยใช้นิยาม 4.1.1 กำหนดให้ f(x) = A, g(x) = B (2) ให้  > 0 จะหา  > 0ที่ถ้า 0 < | x – x0| < ทำให้ | ( fg )(x) – AB | <  f มีลิมิตที่ x0โดยทฤษฎีบท 4.1.4 จะมี M > 0 และ 1 > 0 ซึ่ง 0 < | x – x0| < 1 , xDแล้ว | f(x) |  M

  6. ให้  = ดังนั้น  > 0 จะมี2ซึ่ง 0 < | x – x0| < 2, xDทำให้ | f(x) – A | <  g ต่อเนื่องที่ x0 จะมี 3ซึ่ง 0 < | x – x0| < 3, xDทำให้ | g(x) – B | <  เลือก  = min {1, 2, 3}

  7. ถ้า 0 < | x – x0| < แล้วทำให้ | ( fg )(x) – AB | = | f(x)g(x) – AB + f(x)B – f(x)B |  | f(x)g(x) – f(x)B | + | f(x)B – AB | = | f(x) || g(x) – B | + | B || f(x) – A | < M + | B | = ( M + | B | )  ดังนั้น | ( fg )(x) – AB | <  ฟังก์ชัน fg มีลิมิตที่ x0และ ( fg )(x) = [ f(x) ][ g(x) ]

  8. (3) ให้  > 0 , B  0และ g(x)  0, xD จะหา  > 0ที่ถ้า 0 < | x – x0| < จะทำให้ | ( )(x) – | <  เนื่องจาก g มีลิมิตที่ x0และ > 0 จะมี 1 > 0 ซึ่งถ้า 0 < | x – x0| < 1 ทำให้ | g(x) – B | < | | g(x) | - | B | | < < | g(x) | < 3

  9. กรณีที่ A  0 ให้  = | g(x) – B | <  จะมี 2 > 0 ซึ่ง 0 < | x – x0| < 2 , xD ทำให้ จะมี 3 > 0 ซึ่ง 0 < | x – x0| < 3 , xD ทำให้ | f(x) – A | <  ให้  =

  10. เลือก  = min {1, 2, 3} ที่ ถ้า 0 < | x – x0| < แล้วทำให้ =  + = + + < = 

  11. ดังนั้น | ( )(x) – | <  กรณีที่ A = 0 จะมี0 > 0 ซึ่ง 0 < | x – x0 | < 0ทำให้ | f(x) | < เลือก  = min {1, 0} ถ้า 0 < | x – x0 | < แล้ว = <  ฟังก์ชัน )(x) = มีลิมิตที่ x0 และ ( g(x)  0 และ g(x)  0 , xD  เมื่อ

  12. ทฤษฎีบท 4.2.3ให้ f : Dและ g : D x0เป็นจุดลิมิตของ D f, g มีลิมิตที่ x0ถ้า f(x)  g(x) ทุกๆxDแล้ว f(x) g(x)  การพิสูจน์เนื่องจาก f, g มีลิมิตที่ x0 สำหรับ ลู่เข้าสู่ ใดๆที่ลู่เข้าสู่ x0ทำให้ลำดับ g(x) f(x) ลู่เข้าสู่ และลำดับ

  13. แต่ f(x)  g(x) ทุกๆxDทำให้ f(xn)  g(xn) ทุกๆ n โดยบทแทรก 3.4.4 f(xn)  g(xn) g(x) f(x)  นั่นคือ 

  14. ทฤษฎีบท 4.2.4ให้ f : Dและ g : D , x0เป็นจุดลิมิตของ D ถ้า f มีขอบเขตบนเซต Q ซึ่งเป็นย่านของจุด x0และ g มีลิมิตเท่ากับ 0 ที่จุด x0แล้วfgมีลิมิตที่ x0และ (fg)(x) = 0 การพิสูจน์ ให้ > 0จะหา  > 0ที่ ถ้า 0 < | x – x0 | < แล้ว | (fg)(x) | < 

  15. เนื่องจาก f มีขอบเขตบน Q ซึ่งเป็นย่านจุด x0ดังนั้นจะมี1 > 0 และ M > 0 ที่ | x – x0 | < 1, xDทำให้ | f(x) |  M เนื่องจาก g มีลิมิตที่ x0 > 0 จะมี2 > 0 ที่ 0 < | x – x0 | < 2ทำให้ | g(x) – 0 | < | g(x) | <  เลือก = min {1, 2} ให้ =

  16. ถ้า 0 < | x – x0 | < และxDทำให้ | (fg)(x) | = | f(x)g(x) | = | f(x) || g(x) | < M =  นั่นคือfgมีลิมิตที่ x0และ (fg)(x) = 0 

More Related