1 / 120

การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น

การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น. ส่วนแผนพัฒนาท้องถิ่น สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โทร 0-2241-9000 ต่อ 2122-4. ประเด็นนำเสนอ. 1. แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น 2. แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 3. แนวทางการจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี

Download Presentation

การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นการจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น ส่วนแผนพัฒนาท้องถิ่น สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โทร 0-2241-9000 ต่อ 2122-4

  2. ประเด็นนำเสนอ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น 2. แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 3. แนวทางการจัดทำและประสานแผนพัฒนาสามปี 4. แนวทางการจัดทำแผนการดำเนินงาน 5. คณะกรรมการติดตามและประเมินแผนพัฒนาท้องถิ่น

  3. แนวคิดการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นแนวคิดการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น หลักการกระจายอำนาจ • กระจายภารกิจหน้าที่ให้ท้องถิ่นรับผิดชอบ (245 ภารกิจ) • กระจายอำนาจการตัดสินใจดำเนินการ การกำหนดนโยบาย การวางแผน กาบริหารจัดการ • กระจายอำนาจบริหารจัดการงบประมาณ บุคลากร เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่น ให้ประชาชนมีส่วนร่วมเสนอแนะความต้องการ • กระจายความรับผิดชอบต่อหน้าที่ให้ผู้บริหารท้องถิ่น ให้ประชาชน ร่วมกันตรวจสอบหน้าที่อย่างโปร่งใส

  4. จัดความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการส่วนกลางจัดความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการส่วนกลาง กับส่วนภูมิภาค และการปกครองท้องถิ่น ทำหน้าที่ในเชิงกลยุทธ์ กำหนดยุทธศาสตร์ พัฒนานโยบาย สนับสนุนความรู้วิทยาการใหม่และกำกับดูแลตรวจวัดสัมฤทธิผลของการปฏิบัติงานของราชการส่วนภูมิภาค และ อปท.ไม่ใช่หน่วยปฏิบัติ ส่วนกลาง เชื่อมโยงความสัมพันธ์ทางยุทธศาสตร์ ให้คำปรึกษาชี้แนะสนับสนุน และช่วยเหลือทางเทคนิค กำกับดูแลและเป็นตัวแทนของหน่วย ราชการส่วนกลางปฏิบัติภารกิจที่หน่วยการปกครองท้องถิ่นทำไม่ได้ หรือทำได้ไม่ดีพอตามพันธะสัญญาที่มีต่อราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รับผิดชอบปฏิบัติกิจกรรมบริการประชาชนที่เป็นเรื่องใกล้ตัวที่ผู้คนในท้องถิ่นรู้ปัญหาความต้องการดีกว่าและมีความสามารถแก้ปัญหาและทำการพัฒนาได้ดีกว่าราชการส่วนภูมิภาค หน่วยการ ปกครองท้องถิ่น

  5. แนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นแนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น แนวคิดเชิงกระบวนการแก้ปัญหา ปัญหา คืออะไรปัญหา คืออะไร  ปัญหา มีสาเหตุมาจากอะไร  จุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ ในการแก้ปัญหาคืออะไร  วิธีการ หรือแนวทางแก้ปัญหาคืออะไร

  6. แนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นแนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น แนวคิดเชิงกระบวนการและเนื้อหาวิธีการ จะทำไปทำไมจะทำอะไร จะทำที่ไหน จะทำเมื่อไร จะทำโดยใครจะทำเพื่อใคร จะทำอย่างไรจะใช้จ่ายเท่าไร

  7. แนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่นแนวคิดในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น แนวคิดเชิงการตัดสินใจ เป้าหมาย แนวทาง/โครงการ/กิจกรรม วิธีการทำงาน 4 Ms ผลลัพธ์ ผลผลิต กระบวนการ ทรัพยากร

  8. แนวคิดในการ วางแผนพัฒนาท้องถิ่น แนวคิดสร้างสรรค์ - สัญชาตญาณ - เรียนรู้จากประสบการณ์ - องค์กรแห่งการเรียนรู้ - ข้อเท็จจริง - เรียนรู้จากผู้อื่น - การวิจัย - การวิเคราะห์สถานการณ์

  9. สรุปความเชื่อมโยงแผนพัฒนาระดับต่างๆ กับ แผนพัฒนาท้องถิ่น และงบประมาณท้องถิ่น ปัจจัยนำเข้า แผน ยุทธศาสตร์ แผน พัฒนาสามปี งบประมาณ รายจ่าย อปท. แผนการ ดำเนินงาน (ปฏิทิน การทำงาน) • แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ • นโยบายของรัฐบาล/ แผนการบริหารราชการ แผ่นดิน • ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/ จังหวัด/อำเภอ • นโยบายผู้บริหารท้องถิ่น • ภารกิจตามอำนาจหน้าที่ • ปัญหาความต้องการ ของประชาชน/แผนชุมชน • ข้อมูล วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย ยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนา โครงการ กิจกรรม หมวดรายจ่ายต่างๆ

  10. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)- วิสัยทัศน์ประเทศไทย : มุ่งพัฒนาสู่“สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน”ภายใต้แนวปฏิบัติ ปรัชญาของศรษฐกิจพอเพียง โดยยึดหลัก “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”เพื่อให้การพัฒนาประเทศเป็นไปในทางสายกลาง “มีเหตุผล ความพอประมาณ ระบบภูมิคุ้มกัน” และการเสริมสร้าง “ความรู้” ควบคู่กับ “คุณธรรม” เป็นพื้นฐานพัฒนา

  11. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)มี5 ยุทธศาสตร์ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ 1. ด้านพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่ง ภูมิปัญญา และการเรียนรู้ 2. ด้านการสร้างความเข้มแข็งของสังคมและชุมชนให้เป็น ฐานรากที่มั่นคงของประเทศ 3. ด้านการปรับโครงการเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน 4. ด้านความหลากหลายทางชีวภาพและความมั่นคงของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. ด้านเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ

  12. 1. ด้านพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่ง ภูมิปัญญา และการเรียนรู้ • เป้าหมาย • - คนไทยได้รับการพัฒนาสุขภาพ กาย จิตใจ ความรู้ อาชีพที่มั่นคง • ปีการศึกษาเฉลี่ย 10 ปี • กำลังแรงงานมีคุณภาพ • อาชญากรรมลดลง • อายุคนไทยสูงขึ้น เฉลี่ย 80 ปี • ลดอัตราการเพิ่มของโรคที่ป้องกันได้ 5 อันดับแรก คือ หัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง พัฒนาให้คนมีคุณธรรม นำความรู้ เสริมสร้างสุขภาพทั้งกายและจิตใจ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี เสริมสร้างให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

  13. 2. ด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมให้เป็นฐานรากที่มั่นคงของประเทศ • เป้าหมาย • ทุกชุมชนมีแผนชุมชน • ปัญหายาเสพติด อาชญากรรม ลดลง • การขยายโอกาสเข้าถึงแหล่ง เงินทุน • ประชาชนมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจ • สัดส่วนผู้อยู่ใต้เส้นความยากจน ลดลง การบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็ง สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน สร้างชุมชนให้อยู่กับทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล

  14. 3. ด้านการปรับโครงการเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน • เป้าหมาย • สัดส่วนภาคเศรษฐกิจต่อการค้าระหว่าง ประเทศเพิ่มขึ้น • สัดส่วนการผลิตภาคการเกษตรและ อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น • เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียน • ลดอัตราส่วนการใช้พลังงานต่อผลิตภัณฑ์ • ลดการใช้น้ำมันภาคการขนส่ง • รายได้ของกลุ่มที่มีรายได้สูงสุดร้อยละ 20 แรกมีสัดส่วนที่ไม่เกิน 10 เท่าของรายได้ ของกลุ่มที่มีรายได้ต่ำสุดร้อยละ 20 ปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่ม มูลค่าของสินค้าและการบริการ การสร้างภูมิคุ้มกัน ของระบบเศรษฐกิจ สนับสนุนให้เกิดการแข่งขันที่ เป็นธรรมและกระจายผลประโยชน์

  15. 4. ด้านความหลากหลายทางชีวภาพและความมั่นคงของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • เป้าหมาย • มีพื้นที่ป่าไม้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 33 และต้องเป็นป่าอนุรักษ์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 18 ของพื้นที่ประเทศ • พื้นที่การเกษตรเขตชลประทานไม่ น้อยกว่า 31,000,000 ไร่ • คุณภาพน้ำในลุ่มน้ำต่างๆ อยู่ใน เกณฑ์พอใช้และดี • อัตราการผลิตขยะในเขตเมืองไม่เกิน 1 กก./คน/วัน • ของเสียจากชุมชนและอุตสาหกรรม • ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง รักษาฐานทรัพยากรและความ สมดุลของระบบนิเวศ สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต พัฒนาคุณค่าความหลากหลาย ทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น

  16. 5. ด้านเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการประเทศ • เป้าหมาย • มุ่งให้ธรรมาภิบาลของประเทศดีขึ้น • ระบบราชการมีขนาดที่เหมาะสม • ธรรมาภิบาลในภาคเอกชนเพิ่มขึ้น • มีความสามารถในการจัดเก็บรายได้ และมีอิสระในการพึงตนเองมากขึ้น • ภาคประชาชนมีความเข้มแข็ง รู้สิทธิหน้าที่และมีส่วนร่วมในการ • ตัดสินใจและรับผิดชอบในการบริหาร จัดการประเทศ พัฒนาประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล ให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีการดำเนินชีวิต สร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการประเทศ สร้างภาคราชการให้มีประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาล

  17. นโยบายของคณะรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2551 แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2551 - 2554 (มติ ครม.เห็นชอบเมื่อวันที่ 11 มี.ค. 2551)

  18. แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนการบริหารราชการแผ่นดิน กรอบแนวคิด - สังคมไทยจะเริ่มเข้าสู่จุดเริ่มต้น ผู้สูงอายุในปี 2552 - ภาวะโลกร้อน และภัยพิบัติทาง ธรรมชาติต่างๆ ที่เกิดขึ้น ทิศทางการบริหารประเทศ - การสร้างความสมานฉันท์ให้กับ คนไทยทุกภาคส่วน - การสร้างความสมดุลและภูมิคุ้มกัน ให้กับเศรษฐกิจของประเทศ แนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน 1. นโยบายฟื้นฟูความเชื่อมั่นของประเทศ 2. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต 3. นโยบายเศรษฐกิจ 4. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 5. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม 6. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ 7. นโยบายความมั่นคงของรัฐ 8. นโยบายการบริหารจัดการที่ดี

  19. ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ- ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. แบ่งเป็น 6 ด้าน 245 เรื่อง ใน 57 กรม 15 กระทรวง ถ่ายโอนแล้ว 180 เรื่อง ยังไม่ถ่ายโอน 64 เรื่อง ถอน 1 เรื่อง 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต 3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย 4. ด้านการวางแผนการส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว 5. ด้านการบริการจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

  20. ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน • ถนนในเขตชุมชนหรือกลุ่มหมู่บ้าน เช่น ผิวจราจร ช่องทางจราจร ทางเท้าหรือไหล่ทาง ที่จอดรถ • น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ให้แก่ประชาชนอย่างไม่ขาดแคลน • น้ำเพื่อการเกษตร มีแหล่งน้ำเพียงพอต่อความต้องการใช้ • ไฟฟ้าและความส่องสว่าง ตามแนวถนน ทางแยก พื้นที่สาธารณะ ให้เกิดความปลอดภัย

  21. ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต • - สุขภาพอนามัย การเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น • การส่งเสริมอาชีพและรายได้ เช่น การรวมกลุ่มอาชีพ การพัฒนา ฝีมือในการประกอบอาชีพ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ จัดหาตลาดรองรับ • การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ อปท. • - การพัฒนาการศึกษา เช่น จัดตั้งศูนย์เด็กเล็ก การศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ • การพัฒนาผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยเอดส์ ให้มีกิจกรรมและพึ่งตนเองได้ • - การสร้างความมั่นคงในชีวิต เช่น ด้านสุขภาพ ครอบครัวและการอยู่ อาศัย ความปลอดภัยในชีวิตและเครือข่ายเกื้อหนุน

  22. ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย • การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น อาสาสมัคร • การบูรณพื้นฟูสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ และจิตใจที่ได้รับความ เสียหายจากภัยพิบัติ • การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

  23. ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 4. ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว • การส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ตามความ • เหมาะสมของแต่ละท่องถิ่น เช่น ปรับปรุงภูมิทัศน์ • การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ การท่องเที่ยวเชิง • การเรียนรู้ การท่องเที่ยวเชิงศึกษาธรรมชาติ เป็นต้น

  24. ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 5. ด้านการบริการจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - การรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บขนและการ กำขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล เช่น การรณรงค์ลดอัตราการเกิดขยะ การคัดแยกขยะ การเก็บรวบรวมขยะ สถานที่กำจัดขยะ การเฝ้า ระวังและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม การจัดเก็บค่า ธรรมเนียม

  25. ภารกิจถ่ายโอนให้แก่ อปท. 6 ด้าน 6. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น • - การดูแล รักษา อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมในท้องถิ่น • ส่งเสริมวิถีชีวิต ศาสนาและประเพณีที่ดีงามของท้องถิ่น • ส่งเสริมจริยธรรม คุณธรรม และศีลธรรมอันดีงามของครอบครัว

  26. กรอบความคิดเมืองน่าอยู่/ชุมชนน่าอยู่กรอบความคิดเมืองน่าอยู่/ชุมชนน่าอยู่ • มิติเมืองปลอดภัย • มิติเมืองสะอาด • มิติเมืองคุณภาพชีวิต • มิติเมืองธรรมาภิบาล • มิติเมืองวัฒนธรรม

  27. ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ • มิติเมืองปลอดภัย ๑.๑ ภัยอาชญากรรม ๑.๒ ภัยยาเสพติด ๑.๓ ภัยจากอุบัติเหตุจราจร ๑.๔ สาธารณภัย

  28. ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ ๒. มิติเมืองสะอาด ๒.๑ ขยะ/สิ่งปฏิกูล ๒.๒ เหตุรำคาญ ๒.๓ น้ำ ๒.๔ มลทัศน์

  29. ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ ๓. มิติเมืองคุณภาพชีวิต ๓.๑ สุขภาพ ๓.๒ การศึกษา ๓.๓ เศรษฐกิจชุมชน

  30. ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ ๔. มิติเมืองธรรมาภิบาล ๔.๑ หลักนิติธรรม ๔.๒ ความโปร่งใส ๔.๓ การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของสังคม ๔.๔ สำนึกรับผิดชอบต่อสังคม

  31. ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ตัวชี้วัดเพื่อประเมินสถานภาพเมืองน่าอยู่ ๕. มิติเมืองวัฒนธรรม ๕.๑ ประวัติศาสตร์เมือง ๕.๒ ขนบธรรเนียมประเพณี/วัฒนธรรม ๕.๓ ศิลปกรรม ๕.๔ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

  32. ผลผลิต output ผลลัพธ์ outcome ผลกระทบ impact ผลสัมฤทธิ์ RB ผลจากการทำงาน

  33. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น

  34. การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา • เป็นกระบวนการกำหนดทิศทางอนาคตของ อปท. • โดยกำหนด สภาพที่ต้องการบรรลุ และแนวทางใน การบรรลุสภาพดังกล่าว • บนพื้นฐานของการรรวบรวมข้อมูลอย่าง • รอบด้านทั้งมิติการพัฒนา และมิติเชิงพื้นที่ • เป็นระบบดำเนินการอย่าเป็นขั้นตอน

  35. + รอบด้าน

  36. อย่างเป็นระบบ • การรวบรวมข้อมูลและปัญหาสำคัญ • การวิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาของท้องถิ่นในปัจจุบัน และกำหนดประเด็นในการพัฒนา • การกำหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่น • การกำหนดจุดมุ่งหมายเป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน • การกำหนดวัตถุประสงค์การพัฒนาท้องถิ่น • การกำหนดยุทธศาสตร์และบูรณาการแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น • การกำหนดเป้าหมายการพัฒนาท้องถิ่น • การอนุมัติและประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา

  37. เค้าโครงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเค้าโครงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 สภาพทั่วไป+ข้อมูลพื้นฐานของ อปท. บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนา ท้องถิ่น บทที่ 4 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนา บทที่ 5 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา บทที่ 6 การนำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ไปสู่การปฏิบัติและการติดตาม ประเมินผล

  38. ข้อมูลด้าน...............................................ข้อมูลด้าน...............................................

  39. 1) ข้อมูลด้านคุณภาพชีวิต

  40. 1) ข้อมูลด้าน คุณภาพชีวิต (ต่อ)

  41. ศักยภาพของท้องถิ่น คืออะไร • ต้นทุนทางสังคมและวัฒนธรรม • ต้นทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ • ต้นทุนด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ต้นทุนด้านสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ • ต้นทุนทางด้านเทคโนโลยี และโครงสร้างพื้นฐาน “ที่จะสามารถนำมาพัฒนาให้เกิดมูลค่าเพิ่มขึ้น”

  42. ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น

  43. ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น

  44. ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น ข้อมูลศักยภาพท้องถิ่น

  45. การวิเคราะห์สถานการณ์ของท้องถิ่นการวิเคราะห์สถานการณ์ของท้องถิ่น ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง (Strengths) โอกาส (Opportunities) SWOT อุปสรรค (Threats) จุดอ่อน (Weaknesses)

  46. การใช้วิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์การใช้วิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์ ให้ใช้ขอบเขตพื้นที่ขององค์กร ที่รับผิดชอบเป็นหน่วยในการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน การใช้วิเคราะห์เชิงแผนงาน/โครงการ ให้ใช้ขอบเขตทรัพยากรในการบริหารจัดการขององค์กร ที่รับผิดชอบหรือควบคุมได้เป็นปัจจัยภายใน หลักการใช้เทคนิคSWOT

  47. ปัจจัยภายใน

  48. ปัจจัยภายนอก

More Related