1 / 17

สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี. จังหวัด ( province) เขต ( county) นคร ( city) เมือง ( town) อำเภอ ( township) หมู่บ้าน ( village). สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี. ลักษณะการเกษตรโดยทั่วไป

umika
Download Presentation

สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีสหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี • จังหวัด (province) • เขต (county) • นคร (city) • เมือง (town) • อำเภอ (township) • หมู่บ้าน (village)

  2. สหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีสหกรณ์การเกษตรในประเทศสาธารณรัฐเกาหลี • ลักษณะการเกษตรโดยทั่วไป • พื้นที่เป็นภูเขา มีพื้นที่เกษตร ~ ร้อยละ 22 ของพื้นที่ทั้งประเทศ โดยปลูกข้าว ร้อยละ 60และปลูกพืชไร่ ร้อยละ 40 • จำนวนเกษตรกรลดลงทุกปี เนื่องจากความเจริญทางอุตสาหกรรมและ การขยายตัวของเขตเมืองเข้าสู่ภาคชนบท ทำให้พื้นที่การเกษตรลดลง • มีแนวคิดในการพัฒนาชนบทโดยใช้โครงการพัฒนาชุมชนใหม่ (New Community Movement) ซึ่งเป็นวิธีการพัฒนาแบบพึ่งตัวเอง (Self-help development) อาศัยความร่วมมือกันในชุมชน ยึดหลักความสัมพันธ์ระหว่างการสร้างชุมชนกับการสร้างชาติ

  3. ประวัติการจัดตั้งสหกรณ์ประวัติการจัดตั้งสหกรณ์ • ปี 2450 จัดตั้งสมาคมการเงิน (The Kwang-ju Local Financial Association)เป็นแหล่งสินเชื่อเกษตร เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร ตามหลักการสหกรณ์ตามแบบ ฉบับสหกรณ์เครดิตชนบท Raiffeison • ปี 2453 ก่อตั้งสมาคมเกษตรกร เพื่อทำธุรกิจด้านการจัดซื้อปัจจัยการผลิต • ปี 2499 จัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรแห่งชาติเกาหลีในรูปบริษัทร่วมทุน • ปี 2500 เปลี่ยนสมาคมเกษตรกรเป็นสหกรณ์การเกษตร • ปี 2504 รวมธนาคารเพื่อการเกษตรฯ เข้ากับสหกรณ์การเกษตรเดิม เป็นชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ (The National Agricultural Cooperative Federation: NACF)

  4. โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร • ก่อนปี 2523 สหกรณ์ถูกจัดไว้เป็น 3 ระดับ คือ • สหกรณ์ขั้นปฐมในระดับอำเภอหรือหมู่บ้าน (Township or Village cooperatives ) • - ก่อนปี 2504 ขาดเงินทุน ทำธุรกิจเฉพาะร้านค้าและการตลาดผลผลิต • - ปี 2512 วางแผนรวมสหกรณ์หมู่บ้านเข้าด้วยกันเป็นระดับอำเภอ • สหกรณ์ขั้นมัธยมในระดับเขตหรือนคร (County or City cooperatives) • - ทำธุรกิจด้านบริการสินเชื่อ ประกันภัย โครงการพัฒนาเศรษฐกิจ และให้คำปรึกษาของสหกรณ์ขั้นปฐม • ชุมนุมสหกรณ์ในระดับชาติ (National cooperative)

  5. โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร (ต่อ) 3. ชุมนุมสหกรณ์ในระดับชาติ (National cooperative) - ตั้งขึ้นในปี 2504 มีสหกรณ์หมู่บ้าน สหกรณ์เขต สหกรณ์รูปพิเศษ เป็นสมาชิก - มีหน้าที่เกื้อกูลธุรกิจของสหกรณ์ระดับเขตหรือนคร และ ให้คำแนะนำแก่สหกรณ์ขั้นปฐมระดับหมู่บ้านเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงาน รวมทั้งให้ความเข้าใจกับเกษตรกรในเรื่องสหกรณ์

  6. โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร (ต่อ) • สหกรณ์ถูกแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ • สหกรณ์การเกษตรอเนกประสงค์ • - ปี 2514 สหกรณ์ขั้นปฐมพัฒนาเป็นสหกรณ์อเนกประสงค์ • - ดำเนินธุรกิจด้านสินเชื่อเกษตร จำหน่ายปุ๋ย สารเคมีและ บริการเรื่องการประกันภัย • สหกรณ์การเกษตรรูปพิเศษ (Special Agricultural Cooperatives) • ได้แก่ สหกรณ์ผู้ปลูกผักผลไม้ และสหกรณ์ผู้เลี้ยงสัตว์ เป็นสมาชิก NACF โดยตรง

  7. โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ)โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ) • ในช่วงปี 2518-2523 มีการขยายตัวของธุรกิจสหกรณ์อย่างมาก • - สหกรณ์ขั้นปฐมริเริ่มโครงการพัฒนาชุมชนใหม่ เพื่อสร้างรายได้ให้ เกษตรกร • - NACF ได้โยกย้ายงานด้านการประกันชีวิต การแลกเปลี่ยนเงินตรา สินเชื่อระยะกลางและยาวให้กับสหกรณ์การเกษตรอำเภอ • - มีการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลทางการตลาดสินค้าเกษตรและปรับปรุง ประสิทธิภาพการตลาด • - องค์กรในระดับหมู่บ้านเปลี่ยนชื่อไปเป็น Farming Society เช่น กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแม่บ้าน มีหน้าที่เฉพาะเจาะจง

  8. โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ)โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ) • ปลายปี 2523 ประกาศใช้กฎหมายสหกรณ์ฯฉบับใหม่ปรับเปลี่ยนโครงสร้าง สหกรณ์และตั้งชุมชนสหกรณ์ผู้เลี้ยงสัตว์แห่งชาติขึ้นมาใหม่ • สหกรณ์การเกษตรระดับปฐม (Primary Agricultural Cooperatives) • - มีสมาชิก 2 ประเภท คือ สมาชิกธรรมดา กับ สมาชิกสมทบ • - ดำเนินธุรกิจ รับฝาก ให้กู้ แปรรูป ขายผลผลิตของสมาชิก จัดให้มีการ ประกันภัย จัดหาวัสดุอุปกรณ์การเกษตร ให้บริการฯ • - การจัดโครงสร้างใหม่ ทำให้ต้นทุนในการดำเนินงานลดลงและเพิ่ม ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ

  9. โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ)โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ) • ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ (National Agricultural Cooperative Federation: NACF) • - มีสหกรณ์ระดับปฐมและสหกรณ์รูปพิเศษเป็นสมาชิก • - มีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ อำนวยความสะดวก ควบคุมแนะนำและ ให้บริการในด้านธุรกิจแก่สหกรณ์ระดับปฐม • ปี 2530 มีการประกาศความเป็นประชาธิปไตยในเกาหลีใต้ สมาชิกเกษตรกร เรียกร้องความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้นในสหกรณ์การเกษตร - มีการประชุมสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็นในการพัฒนาสหกรณ์ฯ - สหกรณ์ฯ มีอิสระมากขึ้น ขยายขอบเขตการดำเนินธุรกิจออกไป อย่างกว้างขวาง

  10. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ(NACF)ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ(NACF) สำนักงานระดับจังหวัด สำนักงานระดับเขต สำนักงานระดับนคร สหกรณ์การเกษตรรูปพิเศษ(ผู้ปลูกผักผลไม้) สหกรณ์การเกษตรระดับปฐม(อเนกประสงค์) เกษตรกรสมาชิก เกษตรกรสมาชิก โครงสร้างและการพัฒนาของสหกรณ์การเกษตร(ต่อ)

  11. การบริหารงาน • สหกรณ์ระดับปฐม • ที่ประชุมใหญ่: ผู้แทนสมาชิก (2 ปี) และคณะกรรมการฯ (3 ปี) ทำหน้าที่กำหนดนโยบายสหกรณ์ เลือกผู้ตรวจบัญชี 2 คน (2 ปี) • ผู้จัดการทั่วไปของสหกรณ์ดูแลงานด้านบริหารและการจัดการธุรกิจ • สมาชิกร่วมมือกับโครงการพัฒนาชุมชนใหม่ โดยจัดตั้งเป็นสมาคม และกลุ่มต่างๆ ในระดับหมู่บ้าน เช่น สมาคมการเกษตรพัฒนา สมาคมสตรีพัฒนา

  12. การบริหารงาน (ต่อ) • ในระดับชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งชาติ (NACF) • ที่ประชุมใหญ่: มีการประชุมปีละครั้ง • คณะกรรมการบริหาร: ประธานชุมนุม เลือกตั้งโดยประธานสหกรณ์ระดับปฐม ก่อนปี 2531 แต่งตั้งโดยประธานาธิบดีกรรมการเป็นข้าราชการกระทรวงเกษตรและกระทรวงการคลัง (@ 1 คน)กรรมการแต่งตั้งโดยผู้จัดการธนาคารแห่งชาติ (1) ผู้แทนสหกรณ์การเกษตร(3) ศาสตราจารย์ด้านการเกษตรและเศรษฐศาสตร์เกษตร (2) • คณะกรรมการดำเนินการ: 8 คนเลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ่ • ผู้ตรวจสอบบัญชี 2 คน

  13. โครงสร้างองค์กรของ NACF 1,278 109

  14. การดำเนินธุรกิจ • วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ปรับปรุงฐานะความเป็นอยู่ ของเกษตรกร และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ • ธุรกิจการธนาคาร การขาย การซื้อหรือจัดหา การประกันภัย การใช้ประโยชน์ ร่วมกันของอุปกรณ์ต่างๆ การแปรรูปร่วมกัน การให้คำแนะนำและให้การ อบรมทางการเกษตร • ภายใต้กฎหมายใหม่ มีการขยายขอบเขตของธุรกิจเพิ่มมากขึ้น เช่น ธุรกิจ นายหน้าค้าที่ดิน ธุรกิจขนส่ง การร่วมลงทุนในธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้อง • เป็นสถาบันการเงินในชนบทแห่งเดียว โดยมีแหล่งเงินทุนจากเงินออมของสมาชิก และ เงินกู้ (จากรัฐ ธนาคารแห่งชาติ ต่างประเทศ) • เป็นหน่วยงานจัดหาวัสดุอุปกรณ์การเกษตรให้เกษตรกร

  15. การดำเนินธุรกิจ (ต่อ) • NACF เป็นผู้รวบรวมผลผลิตให้รัฐ และดำเนินธุรกิจเพื่อส่งเสริมและ อำนวยความสะดวกแก่สมาชิก • - ธุรกิจการค้าต่างประเทศ • - ธุรกิจการธนาคารระหว่างประเทศ • - ธุรกิจเงินกู้ต่างประเทศ • - กิจกรรมด้านการศึกษาวิจัยและให้การศึกษาอบรม • - งานบริการ เช่น มีตลาดกลางขายผลผลิต ศูนย์ให้ข่าวสาร

  16. บทบาทของรัฐกับสหกรณ์การเกษตรบทบาทของรัฐกับสหกรณ์การเกษตร • การออกกฎหมายควบสหกรณ์การเกษตรเข้ากับธนาคารเพื่อการเกษตรฯ • การพัฒนาพื้นที่ทำการเกษตร • ให้สหกรณ์เป็นผู้รวบรวมผลิตผลทางการเกษตรและสถาบันการเงิน ในชนบทเพียงแห่งเดียว • รัฐเป็นผู้ถือหุ้นในสหกรณ์ • ให้สหกรณ์ดำเนินการตามโครงการพัฒนาชุมนุมใหม่ของรัฐ

  17. ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าของสหกรณ์การเกษตรปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าของสหกรณ์การเกษตร  การสนับสนุนและส่งเสริมจากรัฐบาล  การบริหารงานของกรรมการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์

More Related