1 / 69

ocsc.go.th

การประเมินผล การปฏิบัติราชการและ การเลื่อนเงินเดือน. วันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2553. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน (ก.พ.). www.ocsc.go.th. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ. มอบหมายงาน , จัดทำตัวชี้วัด กำหนดค่าเป้าหมายแต่ละบุคคล. วางแผน (Plan). ตอบแทนการปฏิบัติงาน. ติดตาม (Monitor).

Download Presentation

ocsc.go.th

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผล การปฏิบัติราชการและ การเลื่อนเงินเดือน วันศุกร์ที่ 12 มีนาคม 2553 สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) www.ocsc.go.th

  2. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ มอบหมายงาน , จัดทำตัวชี้วัด กำหนดค่าเป้าหมายแต่ละบุคคล วางแผน (Plan) ตอบแทนการปฏิบัติงาน ติดตาม (Monitor) ให้รางวัล (Reward) ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ติดตามงานที่มอบหมาย (ผลสัมฤทธิ์+ พฤติกรรม) ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop) ประเมินผลงานบุคคล (ผลสัมฤทธิ์ + พฤติกรรม) ให้คำปรึกษา แนะนำ สอนงาน 2

  3. การประเมินผลการปฏิบัติราชการการประเมินผลการปฏิบัติราชการ คืออะไร 3 • การประเมินความสำเร็จของงานอันเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานตลอดรอบการประเมิน โดยเปรียบเทียบผลงานกับเป้าหมาย/เกณฑ์มาตรฐานผลงานที่ผู้บังคับบัญชาและผู้ปฏิบัติงานกำหนดร่วมกันไว้ตั้งแต่ต้นรอบการประเมิน

  4. วัตถุประสงค์ 4 เพื่อเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในการกำกับติดตามเพื่อให้ ส่วนราชการและจังหวัดสามารถบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า เพื่อให้ผู้บังคับบัญชานำผลการประเมินการปฏิบัติราชการไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน และการให้เงินรางวัลประจำปีแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ ตามหลักการของระบบคุณธรรม

  5. หลักการ 5 มีความยืดหยุ่นในการเลือกวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่เหมาะกับลักษณะงาน และมีความคล่องตัวในการนำผลการประเมินไปประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน มีความโปร่งใส เป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้

  6. รอบการประเมินและรอบการเลื่อนเงินเดือนรอบการประเมินและรอบการเลื่อนเงินเดือน รอบการเลื่อนเงินเดือน รอบการประเมิน ปีละ ๒ รอบ • รอบที่ ๑ : • รอบที่ ๒ : ๑ เมษายน ๑ ตุลาคม – ๓๑ มีนาคม ๑ ตุลาคม ๑ เมษายน – ๓๐ กันยายน 6

  7. ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน 1 30 พ.ย. 52 การเตรียมการ 2 การประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 30 พ.ย. 52/ 30 ธ.ค. 52 3 การจัดทำดัชนีชี้วัดรายบุคคล ติดตามและให้คำปรึกษาแนะนำการปฏิบัติงาน 4 5 การประเมินผลการปฏิบัติงานและให้คะแนน 6 พิจารณาผลคะแนนกับวงเงินงบประมาณ มีนาคม 53 7 เสนอฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการกลั่นกรองฯ 8 แจ้งผลการประเมิน 9 การประกาศรายชื่อ และร้อยละการเลื่อนเงินเดือน 1 เม.ย. 53 ออกคำสั่งเลื่อนเงินเดือนและแจ้งผลเลื่อนเงินเดือน 10

  8. ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงานผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 1 S2 S2

  9. ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงานผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 2 S2 S1

  10. ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงานผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 3 M2 M1

  11. O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 3 K5 K4 * ปรับใช้เฉพาะกรณี ก.พัฒนาสังคมที่มีตำแหน่ง K5 ใน สป.พม. เท่านั้น

  12. O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 3

  13. O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 4

  14. O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน กลุ่มที่ 3

  15. K3 K2 K1 ผู้มีหน้าที่บริหารผลการปฏิบัติงาน อื่นๆ (สำนักงานรัฐมนตรี) M2

  16. ภาพรวมระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 1 กำหนดโดยพิจารณาความสำเร็จของงานที่ผู้ปฏิบัติและผบ.ตกลงกัน คะแนน ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ของงาน องค์ประกอบ ผลสัมฤทธิ์ ของงาน ประเมิน พิจารณา ความดี ความชอบ 2 กำหนดโดยอ้างอิงจากข้อกำหนดสมรรถนะที่ประกาศ องค์ประกอบ พฤติกรรม คะแนนประเมิน ผลการปฏิบัติ ราชการ คะแนน ประเมิน สมรรถนะ ประเมิน แจ้งผลและ ปรึกษาหารือ เพื่อพัฒนา ปรับปรุง 3 องค์ประกอบ อื่นๆ คะแนน ประเมิน ปัจจัยอื่นๆ ประเมิน กำหนดโดยส่วนราชการ

  17. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน 1 กำหนดโดยพิจารณาความสำเร็จของงานที่ผู้ปฏิบัติและผบ.ตกลงกัน องค์ประกอบ ผลสัมฤทธิ์ ของงาน คะแนน ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ของงาน ประเมิน คือ

  18. ตัวอย่างตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงานตัวอย่างตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน

  19. ตัวอย่างการคำนวณ

  20. การสรุปตัวชี้วัดลงในแบบฟอร์มสรุปผลสัมฤทธิ์ของงานการสรุปตัวชี้วัดลงในแบบฟอร์มสรุปผลสัมฤทธิ์ของงาน คัดกรองจากตัวชี้วัดที่ได้วิเคราะห์โดยการใช้เทคนิค 4 วิธี หรือ อาจสรุปได้จากวิธีอื่นที่ส่วนราชการเลือกใช้ สรุปและเลือกเฉพาะที่สำคัญ กำหนดน้ำหนักให้กับตัวชี้วัดแต่ละตัว โดยน้ำหนักรวมกัน =100% น้ำหนักของตัวชี้วัดแต่ละตัวไม่ควรต่ำกว่า 10% 3 2 1 ระบุ ค่าเป้าหมาย 5 ระดับ

  21. การประเมินสมรรถนะ สมรรถนะ 2 กำหนดโดยอ้างอิงจากข้อกำหนดสมรรถนะที่ประกาศ องค์ประกอบ พฤติกรรม คะแนน ประเมิน สมรรถนะ ประเมิน สมรรถนะ คือ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่นๆ ที่ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์กร

  22. สาระสำคัญของ ว๒๗/๒๕๕๒ การแบ่งประเภทสมรรถนะ สมรรถนะหลัก มี ๕ สมรรถนะ (การมุ่งผลสัมฤทธิ์, บริการที่ดี, การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ, การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม, การทำงานเป็นทีม) สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง สมรรถนะทางการบริหาร มี ๖ สมรรถนะ (สภาวะผู้นำ, วิสัยทัศน์, การวางกลยุทธ์ภาครัฐ, ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน, การควบคุมตนเอง, การสอนงานและมอบหมายงาน) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ ให้ส่วนราชการกำหนดอย่างน้อย ๓ สมรรถนะ

  23. สาระสำคัญของ ว๒๗/๒๕๕๒ *วิสัยทัศน์, การวางกลยุทธ์ภาครัฐ,ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน

  24. การสรุปสมรรถนะลงในแบบฟอร์มสรุปการประเมินสมรรถนะการสรุปสมรรถนะลงในแบบฟอร์มสรุปการประเมินสมรรถนะ 2 1

  25. คำจำกัดความ: ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ดีหรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้อาจเป็นผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของตนเองหรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น อีกทั้งยังหมายรวมถึงการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทายชนิดที่อาจไม่เคยมีผู้ใดสามารถกระทำได้มาก่อน การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation-ACH) 25

  26. บริการที่ดี (Service Mind-SERV) คำจำกัดความ: ความตั้งใจและความพยายามของข้าราชการในการให้บริการต่อประชาชน ข้าราชการ หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 26

  27. คำจำกัดความ: ความสนใจใฝ่รู้ สั่งสม ความรู้ความสามารถของตนในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ด้วยการศึกษา ค้นคว้าและ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องจนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เชิงวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ากับการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise-EXP) 27

  28. คำจำกัดความ: การดำรงตนและประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมทั้งตามกฎหมาย คุณธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และจรรยาข้าราชการเพื่อรักษาศักดิ์ศรีแห่งความเป็นข้าราชการ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม (Integrity – ING) 28

  29. คำจำกัดความ: ความตั้งใจที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่น เป็นส่วนหนึ่งของทีม หน่วยงาน หรือส่วนราชการ โดยผู้ปฏิบัติมีฐานะเป็นสมาชิก ไม่จำเป็นต้องมีฐานะหัวหน้าทีม รวมทั้งความสามารถในการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม การทำงานเป็นทีม (Teamwork – TW) 29

  30. การประเมินสมรรถนะด้วย BAR Scale [ต่อ] คะแนนสมรรถนะ = 11 x 100 = 73.33 % 15 11

  31. ตัวอย่าง 31

  32. ตัวอย่างแบบฟอร์มฯ แบบฟอร์มสรุปฯ ประกอบด้วยเอกสาร 3 หน้า 32

  33. ตัวอย่างแบบฟอร์มฯ (ต่อ) รายละเอียดการกำหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ตลอดจน สมรรถนะ และการประเมินต่างๆ จะอยู่ในเอกสารแนบ ซึ่งส่วนราชการสามารถปรับแก้ให้เหมาะสมกับส่วนราชการได้ ตัวอย่างเอกสารแนบ 33

  34. ระดับผลการประเมิน อย่างน้อย ๕ ระดับ 34

  35. การจัดลำดับผลการประเมินการจัดลำดับผลการประเมิน นำคะแนนประเมินมาจัดลำดับ และกำหนดช่วงคะแนนการประเมิน เช่น ดีเด่น 98-100 คะแนน 2 คน ดีมาก 95 - 97 คะแนน 3 คน ดี 92 – 94 คะแนน 27 คน พอใช้ 60 – 89 คะแนน 5 คน ต้องปรับปรุง น้อยกว่า 60 0 คน รวม 37 คน หรือ ดีเด่น 90-100 คะแนน 32 คน ดีมาก 80 - 89 คะแนน 5 คน ดี 92 – 94 คะแนน 0 คน พอใช้ 60 – 89 คะแนน 0 คน ต้องปรับปรุง น้อยกว่า 60 0 คน รวม 37 คน

  36. กลไกสนับสนุนความโปร่งใส เป็นธรรม คณะกรรมการกลั่นกรอง หน้าที่ : พิจารณากลั่นกรองผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อความเป็นธรรมแก่ผู้รับการประเมิน องค์ประกอบ : • คณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม • รอง หน.สรก. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน • ขรก. ผู้ดำรงตำแหน่งอื่น ตามที่ หน.สรก.เห็นสมควร กรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ • คณะกรรมการระดับจังหวัด • รอง ผวจ. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน • ขรก. ผู้ดำรงตำแหน่งอื่น ตามที่ ผวจ.เห็นสมควร กรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ 36

  37. ผลการประเมินกับการให้รางวัลผลการประเมินกับการให้รางวัล คะแนน ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ของงาน พิจารณา ความดี ความชอบ คะแนนประเมิน ผลการปฏิบัติ ราชการ คะแนน ประเมิน สมรรถนะ แจ้งผลและ ปรึกษาหารือ เพื่อพัฒนา ปรับปรุง

  38. เสนอฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการกลั่นกรองฯ แจ้งผลการประเมิน ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ + ให้คะแนน การพิจารณา ผลการประเมินกับ วงเงินงบประมาณ การประกาศ รายชื่อ และร้อยละการเลื่อนเงินเดือน ออกคำสั่ง เลื่อนเงินเดือนและ แจ้งผลการเลื่อน เงินเดือน www.ocsc.go.th

  39. วงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือนวงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือน แยกวงเงินเลื่อน บริหารส่วนกลาง กับ บริหารส่วนภูมิภาค แยกวงเงิน อย่างน้อย 3 กลุ่ม คำนวณวงเงินที่จะเลื่อน ส่วนราชการตัดยอดจำนวนคนและจำนวนเงิน ขรก. ในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ส่วนราชการ • โดยเลื่อนเงินเดือนภายในกลุ่มก่อน หากเหลือสามารถเกลี่ยได้ • กลุ่มที่ 1 ประเภทบริหาร • กลุ่มที่ 2 ประเภทอำนวยการ • กลุ่มที่ 3 ประเภทวิชาการ และทั่วไป • ส่วนราชการ/จังหวัด: คำนวณวงเงิน 3% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ • ครั้งที่ 1 (เลื่อน ง/ด 1 เม.ย.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณวันที่ 1 มี.ค. • ครั้งที่ 2 (เลื่อนเงินเดือน 1 ต.ค.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณ วันที่ 1 ก.ย. • (นำวงเงินที่เหลือของรอบ 1 มี.ค. มาใช้ 1 ก.ย.ไม่ได้) บริหารส่วนกลาง บริหารส่วนภูมิภาค • บริหารต้น-สูง • อำนวยการต้น-สูง • วิชาการ • ทั่วไป • วิชาการ • ทั่วไป • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • เชี่ยวชาญ • ทรงคุณวุฒิ • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ทักษะพิเศษ www.ocsc.go.th

  40. ตัวอย่างสมมุติการคำนวณวงเงินเลื่อน 3 % ผลรวมของเงินเดือนของข้าราชการทั้งหมด x ร้อยละวงเงินเลื่อนที่ได้รับจัดสรร = วงเงินเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการทั้งหมด (รอบ 6 เดือน) เงินเดือน ณ วันที่ 1 มี.ค. / 1ก.ย. วงเงินเลื่อนเงินเดือน = 483,460 x 3 % = 14,504 บาท

  41. K3 O3 K2 O2 K1 O1 ส่วนราชการที่มีราชการบริหารส่วนภูมิภาค 3% ผู้ว่าราชการจังหวัด ขรก. ในภูมิภาค • ส่วนกลางและภูมิภาคแบ่งวงเงินตามตำแหน่งที่ผู้ว่าฯ สั่งบรรจุและแต่งตั้ง • วิชาการ - ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ ปฏิบัติการ • ทั่วไป - อาวุโส ชำนาญงาน ปฏิบัติงาน

  42. กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 S2 K5 O4 S1 M2 K4 M1 K3 O3 K2 O2 K1 O1 ให้เลื่อนภายในวงเงินของแต่ละกลุ่มก่อน หากเหลือ สามารถเกลี่ยให้กลุ่มอื่นได้ การแยกวงเงินเลื่อนเงินเดือน (อย่างน้อย 3 กลุ่ม)

  43. ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 3 M2 M1

  44. O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 3 K5 K4 * ปรับใช้เฉพาะกรณี ก.พัฒนาสังคมที่มีตำแหน่ง K5 ใน สป.พม. เท่านั้น

  45. O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 3

  46. O3 K3 O2 K2 K1 O1 ผู้บริหารวงเงิน กลุ่มที่ 4

  47. K3 K2 K1 ผู้บริหารวงเงิน อื่นๆ (สำนักงานรัฐมนตรี) M2

  48. แนวทางการพิจารณาจัดสรรวงเงินแนวทางการพิจารณาจัดสรรวงเงิน กรม..... หน่วยตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองกลาง สำนัก.... สำนัก.... สำนัก.... หน่วยงาน หน่วยงาน • จัดสรรในอัตราที่เท่ากัน เช่น 3% หรือ 2.8 % • จัดสรรในอัตราที่ต่างๆ กัน

  49. ตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อนและการจัดสรรตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อนและการจัดสรร www.ocsc.go.th

  50. นำวงเงินที่เหลือของรอบนำวงเงินที่เหลือของรอบ การประเมินที่แล้วมาใช้ไม่ได้ www.ocsc.go.th

More Related