1 / 7

ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1. ด.ญ. เบญจมาศ บุญสมทบ เลขที่ 26

เสนอผลงานวิชาสุขศึกษา. โครงงานกลุ่ม อินดี้ ห้อง ม .1/15. ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1. ด.ญ. เบญจมาศ บุญสมทบ เลขที่ 26 2. ด.ช. กา รันย ภาค เทศหริ่ง เลขที่ 6 3. ด.ช. กิตติคม นาคเอี่ยม เลขที่ 7 4. ด.ช. ยุทธนา พรหมใจ เลขที่ 37

ulric
Download Presentation

ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1. ด.ญ. เบญจมาศ บุญสมทบ เลขที่ 26

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เสนอผลงานวิชาสุขศึกษาเสนอผลงานวิชาสุขศึกษา โครงงานกลุ่มอินดี้ ห้อง ม.1/15 ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1. ด.ญ. เบญจมาศ บุญสมทบ เลขที่ 26 2. ด.ช. การันยภาค เทศหริ่ง เลขที่ 6 3. ด.ช. กิตติคม นาคเอี่ยม เลขที่ 7 4. ด.ช. ยุทธนา พรหมใจ เลขที่ 37 5. ด.ช. ศุภชัย จตุเทน เลขที่ 41 ข้อมูลสมาชิกกลุ่ม

  2. ค่าดัชนีมวลกาย คนที่ ค่าดัชนีมวลกาย สรุป 1 น้อยกว่า18.5 ผอม 2 18.5-22.5 สมส่วน 3 18.50-22.50 น้ำหนักเกิน 4 23.00-24.90 อ้วน 5 มากกว่า 30.00 อ้วนมาก คนที่ 1. ร่างกายสมส่วนการดูแลร่างกายและสุขภาพเพิ่มเติมคือควรออกกำลังกายและทายอาหารให้ครบห้าหมู่เท่านี้ร่างกายก็แข็งแรง คนที่ 2. ร่างกายอยู่ในเกณฑ์ผอมดั้งนั้นจึงต้องบำรุงร่างกายด้วยอาหารหารให้ครบห้าหมู่แล้วยังต้องบำรุงร่างกายโดยการออกกำลังกายอีกด้วย คนที่ 3. ร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วนควรดูแลสุขภาพไม่ให้อ้วนไปกว่านี้คือการเน้นการทายผักและผลไม้ คนที่4. อยู่ในเกณฑ์อ้วนมากจึงต้องควบคุมอาหารและออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี คนที่5. อยู่ในเกณฑ์ผอมควรทานอาหารให้ครบห้าหมู่และทานให้ครบสามมื้อ

  3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน 2. เพื่อแสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย 3. เพื่อศึกษาวิธีการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัย 4. เพื่อควบคุมน้ำหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 5. เพื่อสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตในวัยรุ่นคือ ขนาดของร่างกายร่างกายของเด็กชายและเด็กหญิงมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในอัตราการเจริญเติบโตที่แตกต่างกันเด็กหญิงมีการเจริญเติบโตตั้งแต่อายุ 10-12 ปีหลังจากนั้น อัตราการเจริญเติบโตจะค่อยๆลดลงหรือาจไม่เพิ่มขึ้นในระหว่างอายุ 15-17 ปีส่วนเด็กชายมีอัตราการเจริญเติบโตตั้งแต่อายุ 12 ปีจนถึงอายุ 17-20 ปีจึงจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่คงที่ 2. แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัยแบ่งออกเป็น 6 ปัจจัยคือ 2.1.เพศปกติเพศหญิงจะเจริญเติบโตกว่าเพศชาย 2.2.ต่อมต่างๆ ภายในร่างกานที่ผลิตสารต่าง ๆ อาจทำงานมากหรือน้อยต่างกันไป 2.3.อาหาร การที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนทำให้ร่างกายเจริญเติบโตช้า 2.4.อากาศและแสงแดด ถ้ามีอากาศดีและได้รับแสงแดดบ้างจะทำให้เราแข็งแรงและเจริญเติบโตตามปกติ 2.5.การบาดเจ็บและโรคภัยที่เป็นมาแต่เดิมถ้าป่วยมาแต่เด็กก้จะทำให้การเจริญเติบโตช้า 2.6.การเรียนรู้ที่จะฝึกหัดหรือฝึกฝนโดยเฉพาะการเล่นกีฬาและการทำกิจกรรมต่างๆ จะทำให้พัฒนาของกล้ามเนื้อดีและทำให้ร่างกายเจริญเติบโตเร็วขึ้น

  4. 3. อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่นคือสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายที่วัยรุ่นควรได้รับก็ล้วนมาจากเนื้อสัตว์ เนื้อปลา ผัก ไข่ เนื้อสัตว์และผลไม้และควรบริโภคหลังปรุงเส็รจใหม่ๆงดเว้นอาหารที่ไม่มีประโยชน์ยกเว้นขนมขบเคี้ยวหรืน้ำหวานน้ำอัดลมเท่านี้สุขภาพก็จะดียิ่งถ้าได้เพิ่มออกกำลังกายไปอีกร่างกายจะแข็งแรงสมส่วนทำให้วัยรุ่นพร้อมจะแสดงออกและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข 4. วิธีการดูแลน้ำหนักตัว มีทั้งหมด 5 ประการคือ 4.1. รับประทานอาหารจำพวกต่อไปนี้ในปริมาณที่เพียงพอ ได้แก่ผลไม้พืชผักเมล็ดธัญพืช และอาหารที่มีเส้นใยต่าง ๆ อาหารประเภทเหล่านี้หาซื้อได้สะดวกและให้พลังงานตำ ช่วยให้คุณรู้สึกอิ่มได้ยาวนานกว่า 4.2. รับประทานอาหารประเภท เนื้อ นมไขมันต่ำและโปรตีนอื่น ๆอาหารประเภทนี้จะทำให้อิ่มนานไม่รู้สึกหิว 4.3. ปรับพลังงานของอาหารที่ให้พลังงานที่เพียงพออยู่เสมอ 4.4. รับประทานอาหารมื้อปรกติและประเภททานเล่นมีส่วนช่วยอย่างมากเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมการรับประทานอาหารมากกว่าปรกติ 4.5.ควบคุมขนาดสัดส่วนร่างกายการวิจัยบ่งชี้ว่าการวิจัยของมนุษย์เพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลา 20 ปีที่ผ่านมาและสาเหตูสำคัญเกิดจากการบริโภคอาหารที่เพิ่มขึ้น 5. วิธีการสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางร่างกายคือการที่ร่างกายจะมีสุขภาพที่แข็งแรงและสมบูรณ์ต้องได้รับการเอาใจใส่และยึดหลักต่อไปนี้ 5.1. ควรรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางอาหารให้ครบทั้งห้าหมู่ 5.2. การออกกำลังกายเป็นการเคลื่อนไหวให้กล้ามเนื้อทำงานและร่างกายได้นำพลังงานที่ได้สะสมไว้ออกมาใช้ 5.3. การพักผ่อนนอนหลับ การนอนหลับถือเป็นการพักผ่อนที่ดีที่สุดและทำให้ร่างกายมีโอกาสซ่อมแซมส่วนที่สึกหล่อจะเห็นได้จากเมื่อตื่นนอนใหม่ ๆ หน้าตาจะสดชื่นแจ่มใส

  5. บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน 1. ควรเพิ่มมื้ออาหารตามความสมควรและไม่ควรรับประทานของจุกจิก 2. ควรออกกำลังกายให้เหมาะสมต่อสภาพร่างกายของตนเองโดยคำนึงถึงความปลอดภัยต่อสุขภาพ 3. การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเป็นประจำทุกอาทิตย์จะช่วยทำให้เราติดตามสภาพร่างกายได้ดีขึ้น 4. เริ่มปฏิบัติตั้งแต่วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน 2555 ถึงวันพุธที่ 2 มกราคม 2556รวม 8 สัปดาห์ 5. ทำการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทุกวันพุธ 6. นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสรุปผลของสมาชิกในกลุ่ม บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน

  6. เปรียบเทียบน้ำหนักส่วนสูงสมรรถภาพในแต่ละด้านเทอม 1/2 มีความแตกต่างกันเช่นไร • การเปรียบเทียบน้ำหนักบางคนดีขึ้นบางคนไม่ค่อยดี ดูจากการเปรียบเทียบดังนี้ • คนที่1 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเทอมที่แล้ว 2กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 5ซม. จากเทอมที่แล้ว • คนที่2 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเทอมที่แล้ว 2กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 3ซม. จากเทอมที่แล้ว • คนที่3 มีน้ำหนักตัวลดลงจากเทอมที่แล้ว 1กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 3ซม. จากเทอมที่แล้ว • คนที่4 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเทอมที่แล้ว 3กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 3ซม.จากเทอมที่แล้ว • คนที่5 มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเทอมที่แล้ว 7กก. และมีส่วนสูงเพิ่มขึ้น 7ซม.จากเทอมที่แล้ว

  7. ส่วนการทดสอบสมรรถภาพมีบางคนส่วนมากทำได้ดีขึ้นทั้งความอ่อนตัว การวิ่งบางคนทำเวลา การวิ่งน้อยลง ดันพื้น ลุกนั่งทำได้ดีขึ้น ส่วนกราฟที่อ้างอิงเพื่อวัดการเจริญเติบโตของทั้งเพศหญิง-เพศชาย • 1. นน.ตามเกณฑ์สส. 2. สส.ตามเกณฑ์อายุ 3. นน.ตามเกณฑ์อายุ • คนที่ 1 ค่อนข้างผอม ค่อนข้างเตี้ย นน.ค่อนข้างน้อย • คนที่ 2 ค่อนข้างผอม ค่อนข้างเตี้ย นน.ตามเกณฑ์ • คนที่ 3 สมส่วน ส่วนสูงตามเกณฑ์ และน้ำหนักตามเกณฑ์ • คนที่ 4 เริ่มอ้วน ค่อนข้างเตี้ยน้ำหนักค่อนข้างมาก • คนที่ 5 ค่อนข้างผอม ค่อนข้างเตี้ย น้ำหนักตามเกณฑ์ บทที่ 5 สรุปผลและการอภิปราย คนที่1 ทำได้สำเร็จบ้างค่ะเป็นบางคนเพราะบางคนก็ไม่สำเร็จเพราะอาจกินอาหารที่มีแคลลอรี่มากเกินไปทำให้มีน้ำหนักมากขึ้น ส่วนเรื่องส่วนสูงมีการเพิ่มขึ้นแต่อย่างไรก็ถือว่าสำเร็จเพราะสามารถรู้น้ำหนักของต้นเองส่วนสูงของตนเอง ไปใช้ในการทำให้ทุกอย่างในร่างกายดีขึ้นทั้งนี้ก็ขอขอบคุณคุณครูค่ะที่ให้เราทำงานกลุ่มที่ดีขนาดนี้ค่ะ บรรณานุกรม https://sites.google.com/site/kruwiruttwk/kar-ce-rith-teibto-laea-phathnakar-khxng-way-run http://main.ptpk.ac.th/mana_Online/m1/unit3/n3-2.html http://www.student.chula.ac.th/~53373133/teenagerfood.htm http://www.learners.in.th/blogs/posts/367287

More Related