1 / 9

การบริหารการเงินการคลัง

การบริหารการเงินการคลัง. กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. การติดตามระบบการเงินการคลังหน่วยบริการ. New- Hospital Group Ratio (HGR) มิติเทียบประสิทธิภาพ 5 ด้าน. ด้านรายรับ. ปีงบ 2555. ค่าใช้จ่าย แปรผัน. ค่าใช้จ่ายเกือบคงที่. ด้านสินทรัพย์. ด้านหนี้สิน.

Download Presentation

การบริหารการเงินการคลัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารการเงินการคลังการบริหารการเงินการคลัง กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

  2. การติดตามระบบการเงินการคลังหน่วยบริการการติดตามระบบการเงินการคลังหน่วยบริการ

  3. New- Hospital Group Ratio (HGR) มิติเทียบประสิทธิภาพ 5 ด้าน • ด้านรายรับ ปีงบ 2555 • ค่าใช้จ่าย • แปรผัน • ค่าใช้จ่ายเกือบคงที่ • ด้านสินทรัพย์ • ด้านหนี้สิน

  4. New- การปรับประสิทธิภาพและการติดตามผลการดำเนินงาน • ด้านรายรับ ผลงานปี 2555 งบพยากรณ์เป้าหมายปี 2556 ผลงานจริง2556 • ค่าใช้จ่าย • แปรผัน • ค่าใช้จ่ายเกือบคงที่ HGR -มีระบบติดตามความแปรปรวน การทำได้ตามเป้าหมาย -มี Scoring System ตรวจสอบ รายงานระดับ สป./เขต/จังหวัด -รายงานทุกเดือนสำหรับกลุ่มเสี่ยง และ ทุกไตรมาสกรณีปกติ HGR รายรับ Re V รายจ่ายแปรผัน F รายจ่ายคงที่ • ด้านสินทรัพย์ • ด้านหนี้สิน A สินทรัพย์ หนี้สิน L Scoring 0 - 4

  5. ผลจากการปรับประสิทธิภาพผลจากการปรับประสิทธิภาพ • หน่วยบริการมี กำไร • (%) ส่วนหนึ่งกันไว้เป็นทุนสำรองจนถึงระดับที่กำหนด • (%) ส่วนหนึ่งกันไว้เพื่อการลงทุน/ซ่อมแซม/ปรับปรุง กิจการ • (%) ส่วนหนึ่งกันไว้ใช้เป็นสภาพคล่อง • (%) ส่วนที่เหลือแบ่งไว้ให้เป็นค่าตอบแทนที่ปรับประสิทธิภาพได้(P4P) • หน่วยบริการที่มี ทุนสำรอง เกินที่กำหนด • ส่วนเกินสามารถ นำมาบางส่วนเพื่อทำ P4P ภายหลังที่ปรับประสิทธิภาพได้ • งบประมาณช่วยเหลือสำหรับหน่วยบริการที่ High Relatively Fixed Cost • เงินค้างท่อใน สป/ สปสช เขต/ สสจ • เงินช่วยสำหรับ ค่าตอบแทนตาม ฉบับ 8 ( 1,000 ล้านบาท)

  6. การดำเนินงานเร่งรัด 4 เดือน • หน่วยบริการทั่วประเทศ กำหนด • ประเมินสถานการณ์ปี 2555 เทียบ HGR แล้วทำพยากรณ์งบการเงินปี 2556 20 มิ.ย.56 • แผนปรับประสิทธิภาพในส่วนที่เป็นปัญหา 30 มิ.ย.56 • รายงานการดำเนินการ ผ่านการส่งข้อมูลทางบัญชี 20 ของทุกเดือน • รายงานความแปรปรวน ทุกเดือน ในกรณีที่มีความเสี่ยงระดับ 7 หรือเรื้อรัง • รายงานความแปรปรวน ทุกเดือนในกรณีที่ มีปัญหารุนแรงด้านประสิทธิภาพ • จังหวัด • ติดตามการดำเนินงานการปรับประสิทธิภาพ โดยเฉพาะความเสี่ยงระดับ 7 ทุกเดือน • รายงานความแปรปรวนการทำตามแผนปรับประสิทธิภาพต่อ CFO เขต ทุกเดือน • เครือข่ายบริการระดับเขต • จะมีการจัดประชุมอีก 2 ครั้ง 1.ชี้แจงการดำเนินงาน 2. ติดตามผล ติดตามก.ค.56

  7. การสนับสนุนจากส่วนกลางการสนับสนุนจากส่วนกลาง • จัดอบรมวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลังหน่วยบริการที่มีความเสี่ยง และ CFO เขต • ทีมสนับสนุนจากส่วนกลาง ร่วมกับ CFO เขต ช่วยจัดการอบรม การเร่งรัดนี้ ตั้งแต่ มิ.ย.56 • จัดการ Virtual Office และระบบ on line สนับสนุน • คู่มือการใช้ HGR กับการพยากรณ์ทางการเงิน บน Website • ระบบ SMS แจ้งรายงาน • ระบบให้คำปรึกษา Voice over IP • ปรับปรุงการบันทึกบัญชีและระบบรายงาน ให้กระทบการทำงานต่อหน่วยบริการน้อยที่สุด • รายละเอียดอื่น ตามแผนยุทธศาสตร์ 5 ด้าน

  8. โดยการจัดสัดส่วนเป็นสำรองเป็นงบดำเนินการ แบ่งส่วนงบลงทุน และ จัดสรรส่วนที่เป็นค่าตอบแทน • โดยการจัดสัดส่วนเป็นสำรองเป็นงบดำเนินการ แบ่งส่วนงบลงทุน และ จัดสรรส่วนที่เป็นค่าตอบแทน • โดยการจัดสัดส่วนเป็นสำรองเป็นงบดำเนินการ แบ่งส่วนงบลงทุน และ จัดสรรส่วนที่เป็นค่าตอบแทน • โดยการจัดสัดส่วนเป็นสำรองเป็นงบดำเนินการ แบ่งส่วนงบลงทุน และ จัดสรรส่วนที่เป็นค่าตอบแทน • โดยการจัดสัดส่วนเป็นสำรองเป็นงบดำเนินการ แบ่งส่วนงบลงทุน และ จัดสรรส่วนที่เป็นค่าตอบแทน 1 เร่งรัดการเฝ้าระวัง ประเมินสถานการณ์การเงินการคลัง 1.รายงานการเงินต้องทันเวลาภายในวันที่ 20 ทุกรพ. 2.การรายงานผลการความสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายรายเดือน กลุ่มระดับ7 ทุกเดือน ระดับปกติทุก 3 เดือน 2 วิเคราะห์ปัญหาการเงินและ ประสิทธิภาพ รายได้-ใช้จ่าย 1.การใช้เครื่องมือประเมินค่าใช้จ่ายตามขนาดโรงพยาบาลและแผนควบคุมค่าใช้จ่าย 2.วิเคราะห์ปัญหาส่วนรายได้และรายจ่ายรายการสำคัญที่ควบคุมไม่ได้ผลกำหนดมาตรการ 3 ร่วมมือกับจังหวัดและเขตเพื่อสนับสนุนการประเมินและวิเคราะห์และแก้ไข 1.จัดประชุมกับCFO เขต ประเมินสถานการณ์กำหนดมาตรการแก้ไขร่วมกันลงดำเนินการในพื้นที่ 2. ประชุมกับCFO เขต นำผลประเมินผลการลงตรวจการเงินวิเคราะห์จัดงบประมาณค้างจ่ายช่วยเหลือ 4 นำกำไรและส่วนต่างของค่าใช้จ่ายที่ควบคุมประสิทธิภาพได้มาเป็นผลตอบแทน 1.คณะทำงานจัดสัดส่วนรายได้จากประสิทธิภาพสำหรับดำเนินการ ลงทุนและค่าตอบแทน 2.ประกาศกระทรวงเรื่องจำนวนรายได้จากประสิทธิภาพรายรพ.เพื่อค่าตอบแทน 5”จัดสรรงบประมาณเหลือจ่ายค้างท่อให้หน่วยบริการตามหลักประสิทธิภาพ 1. คณะทำงานร่วมเขตและกระทรวงพิจารณาแหล่งเงินเหลือจ่าย 2. คณะทำงานร่วมเขตและกระทรวงพิจารณาจัดสรรเหลือจ่ายเพื่อประสิทธิภาพ

  9. กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

More Related