1 / 17

ข้อมูลเบื้องต้นสำหรับ การปฏิรูปการจัดการทรัพยากรประมงทะเล

ข้อมูลเบื้องต้นสำหรับ การปฏิรูปการจัดการทรัพยากรประมงทะเล. เวทีปรึกษาหารือสู่การปฏิรูป การจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่งที่ยั่งยืน เรืองไร โตกฤษณะ 21 มกราคม 2554. เรื่องที่นำเสนอ. ประมงทะเลในภาคการประมงไทย สภาวะประมงทะเล ผลจับและศักย์การผลิต การทำประมงมากเกิน ควร (Overfishing)

ulfah
Download Presentation

ข้อมูลเบื้องต้นสำหรับ การปฏิรูปการจัดการทรัพยากรประมงทะเล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการปฏิรูปการจัดการทรัพยากรประมงทะเลข้อมูลเบื้องต้นสำหรับการปฏิรูปการจัดการทรัพยากรประมงทะเล เวทีปรึกษาหารือสู่การปฏิรูป การจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝั่งที่ยั่งยืน เรืองไร โตกฤษณะ 21 มกราคม 2554

  2. เรื่องที่นำเสนอ • ประมงทะเลในภาคการประมงไทย • สภาวะประมงทะเล • ผลจับและศักย์การผลิต • การทำประมงมากเกินควร (Overfishing) • ประมงขนาดใหญ่และประมงขนาดเล็ก • แนวคิดการจัดการประมง

  3. ประมงทะเลในภาคการประมงไทย - ปริมาณ ปริมาณผลผลิต 2536 – 2553 (พันตัน) ที่มา: กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์สถิติการประมง ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง ส่วนแบ่งปริมาณผลผลิต 2536 – 2553 (ร้อยละของผลผลิตรวม) ประมงทะเล: จาก 2.752 ล้านตันในปี 2536 สูงสุด 2.827 ล้านตันในปี 2538 ลดลงเป็น 2.164 ล้านตันในปี 2553 ประมงทะเล: ส่วนแบ่งผลผลิตลดลงจาก กว่าร้อยละ 80 ในปี 2536 ลดลงเหลือไม่ถึงร้อยละ 60 ในปี 2553

  4. ประมงทะเลในภาคการประมงไทย - มูลค่า มูลค่าผลผลิต 2536 – 2553 (ล้านบาท) ที่มา: กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์สถิติการประมง ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง ส่วนแบ่งมูลคาผลผลิต 2536 - 2553 (ร้อยละของมูลค่าผลผลิตรวม) ประมงทะเล: ส่วนแบ่งผลผลิตแกว่งเนื่องจากมูลค่าผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง จากร้อยละ 43 ในปี 2536 ต่ำสุดร้อยละ 31 ปี 2543 สูงสุดร้อยละ 49 ปี 2546 เป็นร้อยละ 42 ในปี 2553 ประมงทะเล: มีมูลค่า 36.224 พันล้านบาทในปี 2536 สูงสุด 64.169 พันล้านบาทในปี 2546 ลดลงเป็น 61.129 พันล้านบาทในปี 2553

  5. ผลจับประมงทะเลแยกตามชนิดสัตว์น้ำ 2536 - 2551 ปริมาณผลจับ (พันตัน) ที่มา: สถิติการประมงไทย 2551 ส่วนแบ่งผลจับ (ร้อยละของผลจับรวม) ผลจับรวมมีแนวโน้มลดลง ปริมาณผลจับปลาเบญจพรรณจาก 0.95 ล้านตันปี 2536 สูงสุด 1.59 ล้านตันปี 2546 ลดลงเป็น 0.83 ล้านตันปี 2551 ปริมาณผลจับปลาเป็ดจาก 0.98 ล้านตันปี 2536 สูงสุด 1.03 ล้านตันปี 2536 ลดลงเป็น 0.44 ล้านตันปี 2551 ปริมาณผลจับกุ้งจาก 0.11 ล้านตันปี 2536 สูงสุด 0.13 ล้านตันปี 2539 ลดลงเป็น 0.54 ล้านตันปี 2551 ปริมาณผลจับปูจาก 0.04 ล้านตันปี 2536 สูงสุด 0.06 ล้านตันปี 2543 ลดลงเป็น 0.03 ล้านตันปี 2551 ปริมาณผลจับหมึกจาก 0.14 ล้านตันปี 2536 สูงสุด 0.19 ล้านตันปี 2541 ลดลงเป็น 0.11 ล้านตันปี 2551 ปริมาณผลจับหอยจาก 0.13 ล้านตันปี 2536 สูงสุด 1.59 ล้านตันปี 2546 ลดลงเป็น 0.02 ล้านตันปี 2551

  6. ศักย์สูงสุดของการผลิต และผลจับปี 2551 ที่มา : *1 บุญเลิศ ผาสุก (2530) *2 สถิติการประมงไทย 2551 (2553)

  7. ผลจับปี 2542 – 2551เปรียบเทียบศักย์สูงสุด ผลจับในอ่าวไทย (ตัน) ผลจับในอันดามัน (ตัน) ที่มา : *1 บุญเลิศ ผาสุก (2530) *2 สถิติการประมงไทย 2542 -2551 (2544 - 2553)

  8. ผลจับต่อหน่วยการลงแรงประมง(Catch per unit effort, CPUE) 2509 - 2534กก./ช.ม.

  9. Over-fishing ในอ่าวไทย ที่มา: RuangraiTokrisna (2009) คำนวณจาก Theodore Panayotou and SongpolJetanavanich (1987) และ จาก PongpatBoonchuwongse and WorapornDechboon (2003)

  10. ประมงขนาดใหญ่และประมงขนาดเล็ก( Lymer et al 2008) ประมงขนาดใหญ่ ประมงขนาดเล็ก อวนจมปู อวนจมกุ้ง อวนจมหมึก อวนลอยปลาทู อวนลอยปลากระบอก อวนติดตาอื่นๆ แห ระวะรุนเคย อวนช้อน/อวนยก อวนอื่นๆ อวนครอบหมึก อวนครอบปลากะตัก เบ็ดราว เบ็ดมือ ลอบปลา ลอบปู ลอบหมึก ลอบกุ้ง เบ็ดเตล็ด • อวนลากแผ่นตะเฆ่ อวนลากคู่ อวนลากคานถ่าง • อวนล้อมจับ อวนล้อมปลากะตัก อวนล้อมปลาทูน่า • อวนลอยปลาอินทรีย์ อวนล้อมติดปลาทู • อวนรุน • เบ็ดราวทูน่า • โพงพาง โป๊ะ

  11. ประมงขนาดเล็ก-ขนาดใหญ่จำนวนเรือและจำนวนชาวประมงประมงขนาดเล็ก-ขนาดใหญ่จำนวนเรือและจำนวนชาวประมง ที่มา: คำนวณจาก Lymer et al (2008)

  12. ประมงขนาดเล็ก ที่มา: คำนวณจาก Lymer et al (2008)

  13. ประมงขนาดใหญ่ ที่มา: คำนวณจาก Lymer et al (2008)

  14. ต้นทุนและรายได้ของเรือประมง(บาท/เดือน/ราย)ต้นทุนและรายได้ของเรือประมง(บาท/เดือน/ราย) ที่มา: Lymer et al (2008) *1 สำรวจจาก เรือ อวนจมกุ้ง อวนจมปู อวนลอยปลากระบอก *2 สำรวจจาก เรือ อวนลากแผ่นตะเฆ่ อวนลากคู่ อวนลากคานถ่าง และ อวนรุน

  15. ผลผลิต มูลค่า จำนวนเรือ จำนวนชาวประมง ต้นทุน รายได้ประมงทะเลขนาดใหญ่ และ ประมงทะเลขนาดเล็ก ที่มา: Lymer et al (2008) ประมาณค่าจากข้อมูลปี 2547

  16. แนวคิดเรื่องการจัดการประมงแนวคิดเรื่องการจัดการประมง • มาตรการเพื่อฟื้นฟูทรัพยากรประมง • การห้ามทำประมงในบางพื้นที่ บางฤดูกาล • การจำกัดการใช้เครื่องมือประมงบางประเภท • การกำหนดโควต้ารวมในการจับสัตว์น้ำ • มาตรการเพื่อจำกัดกรลงแรงประมงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม • การเก็บภาษีเพื่อสะท้อนต้นทุนที่แท้จริงของทรัพยากรประมง • การออกใบอนุญาตทำประมง (licensing) เพื่อจำกัดการลงแรงประมง • การกำหนดโควต้าทำประมงรายบุคคล • นิเวศวิธีเพื่อการประมง (Ecosystem Approach to Fisheries, EAF)

  17. การจัดการประมงเชิงชุมชนการจัดการประมงเชิงชุมชน • แก้ปัญหาความเป็นทรัพย์สินร่วม • หลักการแปดข้อของ Eleanor Ostromในการจัดการทรัพย์สินร่วม (ขอบเขตของกลุ่ม กฎระเบียบที่สอดคล้องความต้องการของชุมชน การมีส่วนร่วมในการออกกฎ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับรองสิทธิของชุมชน การเฝ้าระวังโดยชุมชน การใช้บทลงโทษ กลไกแก้ไขความขัดแย้งที่มีต้นทุนต่ำ กระบวนการในการวางหลักการจัดการ) • ปัจจัยหลักสี่ประการในการจัดการเชิงชุมชน (นโยบายและกรอบกฎหมาย ความเข้มแข็งของชุมชน สถาบัน/องค์กรที่เกี่ยวข้อง ทรัพยากและบุคลากร) • กรณีศึกษาเพื่อระบุรูปแบบที่เหมาะสม

More Related