340 likes | 767 Views
บทที่ 2 ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ ทางด้านรายจ่าย. ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ ทางด้านรายจ่าย. รายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย คือ อุปสงค์รวมของประเทศ (Aggregate Demand : AD) ประกอบด้วยรายการต่อไปนี้ รายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) รายจ่ายเพื่อการลงทุน (I)
E N D
บทที่ 2 ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย
ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่ายส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย • รายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่าย คือ อุปสงค์รวมของประเทศ (Aggregate Demand : AD) • ประกอบด้วยรายการต่อไปนี้ • รายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) • รายจ่ายเพื่อการลงทุน (I) • รายจ่ายเพื่อการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล (G) • รายได้จากการส่งออกสุทธิ (X-M) AD = C + I + G + (X-M)
รายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) • รายจ่ายเพื่อการบริโภค คือ รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ซึ่งเป็นรายจ่ายที่จ่ายโดยเอกชน บุคคลธรรมดา สถาบันต่างๆที่ไม่แสวงหากำไร • รายจ่ายเพื่อการบริโภคสามารถจำแนกได้เป็น • รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าถาวร เช่น รถยนต์ ตู้เย็น • รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าไม่ถาวร • รายจ่ายสินค้าบริการ
รายจ่ายเพื่อการบริโภครายจ่ายเพื่อการบริโภค • ปัจจัยที่กำหนดรายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) • รายได้สุทธิส่วนบุคคล (Yd) • สินทรัพย์ของผู้บริโภค • ระดับราคาสินค้า • สินเชื่อผู้บริโภค • การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต • พฤติกรรมของผู้บริโภค
ฟังก์ชั่นการบริโภค (Consumption Function) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายเพื่อการบริโภคกับ ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภค ในที่นี้เราจะพิจารณาเฉพาะรายได้สุทธิส่วนบุคคล ดังนั้น C = f(Yd) เมื่อ C : รายจ่ายเพื่อการบริโภค Yd : รายได้สุทธิของผู้บริโภค • สมการการบริโภค (Consumption Equation) C = Ca + Ci Ci = bYd C = Ca + bYd
เมื่อ Ca : การบริโภคอิสระ เมื่อ Yd = 0 Ci : การบริโภคโดยจูงใจ เป็นการบริโภคที่ขึ้นกับรายได้ • สมการการบริโภคที่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติ (สมมติให้รายได้ประชาชาติเท่ากับรายได้ส่วนบุคคล) สมมติให้ Yd = Y - T เมื่อ Yd : รายได้สุทธิส่วนบุคคล Y : รายได้ประชาชาติ (NI) T : ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา T : tY Yd : (1 - t)Y ดังนั้น C = Ca + (1 - t) bY
กราฟบริโภคที่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติกราฟบริโภคที่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติ C C = Ca + (1 - t)bY Ci Ca Y 0
การเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายเพื่อการบริโภค : การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการบริโภค ในขณะที่รายได้ของผู้บริโภคยังคงเดิม กรณีเช่นนี้จะทำให้เส้นการบริโภคเคลื่อนย้ายจากเดิมทั้งเส้น C C2 C1 Y 0
สมการการออม รายได้สุทธิส่วนบุคคลแบ่งได้เป็น 2 ส่วนคือ การบริโภค (C) และ การออม (S) ดังนั้นสมการการออม S = Yd - C S = - Ca + (1 - b)Yd • สมการการออมที่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติ S = - Ca + (1 - b)(1 - t)Y
S • กราฟการออมที่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติ S 0 Y Y0 Break even income รายได้ = รายจ่าย, การออม = 0 -Ca
ข้อสมมติที่ใช้ในการศึกษาเรื่อง APC, APS, MPC, และ MPS • ให้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ t = 0 ดังนั้น Yd = Y จากสมการการบริโภค C = Ca + bYd และ S = - Ca + (1 - b)Yd จะได้ C = Ca + bY S = - Ca + (1 - b)Y
ความโน้มเอียงของการบริโภคและการออมความโน้มเอียงของการบริโภคและการออม • ความโน้มเอียงแบ่งได้ 2 ชนิดคือ • ความโน้มเอียงเฉลี่ย (Average Propensity) (Average Propensity to Consume : APC) (Average Propensity to Save : APS) • ความโน้มเอียงหน่วยสุดท้าย (Marginal Propensity) (Marginal Propensity to Consume : MPC) (Marginal Propensity to Save : MPS)
APC : ความโน้มเอียงเพื่อการบริโภค คือ อัตราส่วนของรายจ่ายเพื่อการบริโภคต่อระดับรายได้ APC = C / Yd กรณีที่ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บเป็นศูนย์ Yd = Y ดังนั้น APC = C / Y โดยค่า APC อาจจะมากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ1 ก็ได้ APC > 1 เมื่อ C > Y APC = 1 เมื่อ C = Y APC < 1 เมื่อ C < Y
APS : ความโน้มเอียงเฉลี่ยเพื่อการออม คือ อัตราส่วนของการออมต่อรายได้ APS = S / Yd กรณีที่ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บจากประประชาชนเท่ากับศูนย์ APS = S / Y ค่า APS อาจจะมากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากับ ศูนย์ก็ได้ APS < 0 เมื่อ C > Y APS = 0 เมื่อ C = Y APS > 0 เมื่อ C < Y
MPC : Marginal Propensity to Consume ความโน้มเอียงการบริโภคหน่วยสุดท้าย: อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายเพื่อการบริโภค ต่อ การเปลี่ยนแปลงของรายได้ MPC = C / Y ค่า 0 < MPC < 1 เสมอ ในระยะยาว ค่า MPC จะมีค่าลดลงเมื่อรายได้เพิ่มขึ้น
MPS: marginal Propensity to Save ความโน้มเอียงหน่วยสุดท้ายของการออม : อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของการออม ต่อ การเปลี่ยนแปลงของรายได้ MPS = S / Y ค่า 0 < MPS < 1 เสมอ ค่า MPS จะเพิ่มขึ้น เมื่อรายได้สูงขึ้น MPS = (1-b) ในสมการการออม MPC = b MPS = 1 - MPC ดังนั้น MPS + MPC = 1 เสมอ
ข้อสรุปความโน้มเอียงของการบริโภคและการออมข้อสรุปความโน้มเอียงของการบริโภคและการออม • เมื่อ Yd = C + S ถ้า t = 0 , Yd = Y • ดังนั้น Y = C + S • 1 = C / Y + S / Y • 1 = APC + APS • 1 = MPC + MPS เสมอ
รายจ่ายเพื่อการลงทุน ( I ) ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ • รายจ่ายเพื่อการก่อสร้าง เช่น อาคาร ที่อยู่อาศัย • รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าทุน เช่น เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ • การเปลี่ยนแปลงสินค้าคงเหลือ • สินค้าคงเหลือปลายปี - สินค้าคงเหลือต้นปี ►รายจ่ายเพื่อการลงทุนทั้ง 3 รายการ ข้างต้นเราสามารถเรียกว่า การลงทุนรวม (Gross Investment: Ig) ►รายจ่ายเพื่อการก่อสร้าง รวมกับ รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าทุน เราสามารถเรียกว่าการสะสมทุนของประเทศ (Gross Fixed Capital Formation)
การลงทุนสุทธิ (Net Invesment : In)In = การลงทุนรวม (Ig) - ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) ปัจจัยที่กำหนดการลงทุน • ระดับรายได้ประชาชาติ • อัตราดอกเบี้ย • ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี • นโยบายของรัฐบาล • ผลตอบแทนจากการลงทุน (MEI) • การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
รายจ่ายเพื่อการลงทุน (I) ข้อยกเว้น • รายจ่ายบางประเภทไม่นับเป็นรายจ่ายเพื่อการลงทุน เช่น • การซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไร • การซื้อหุ้น
ฟังก์ชั่นการลงทุน (Investment Function) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่กำหนดการลงทุนและรายรับรายจ่ายเพื่อการลงทุน I = f(Y,………………) I : ปริมาณการลงทุน Y: รายได้ประชาชาติ เราจะถือว่ารายได้ประชาชาติเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญที่สุดต่อการลงทุน ดังนั้นรายได้จึงเป็นตัวกำหนดการลงทุนโดยตรง
ความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนกับรายได้ประชาชาติ แบ่งได้ 2 ชนิด • การลงทุนโดยอิสระ (autonomous investment) : Ia การลงทุนที่ไม่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติ เป็นการลงทุนตามแผนธุรกิจหรือเป้าหมายที่วางไว้ล่วงหน้า I Ia 100 Y 0
การลงทุนโดยจูงใจ ( Induced Investment : Ii) การลงทุนที่ผันแปรไปในทิศทางเดียวกับรายได้ประชาชาติ นั่นคือ I = f( Y ) I = iY กราฟการลงทุนโดยจูงใจ I Ii Y
การลงทุนรวม I = Ia + Ii I = Ia + iY I I = Ia + iY Y
การกำหนดปริมาณลงทุนของหน่วยธุรกิจ การกำหนดปริมาณลงทุนของหน่วยธุรกิจ ขึ้นอยู่กับ ผลตอบแทนจากการลงทุน (MEI) และต้นทุนของเงินลงทุน ( อัตราดอกเบี้ย : r ) R,MEI A r’ 18 B 12 r MEI ปริมาณการลงทุน 0 I I’
รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล (G) • เป็นรายจ่ายของรัฐบาลกลาง รัฐบาลท้องถิ่น ตลอดจนองค์กรของรัฐ • ประกอบด้วยรายจ่ายดังต่อไปนี้ • รายจ่ายประเภทเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าล่วงเวลา • รายจ่ายในการซื้อสินค้าจากภาคธุรกิจ • รายจ่ายในการลงทุนของรัฐบาล • รายจ่ายในการป้องกันประเทศ • ส่วนรายจ่ายประเภทประเภทเงินโอน เช่น เงินสงเคราะห์ต่างๆ ไม่นับเป็นรายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าของรัฐบาล
รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล (G) เป็นรายจ่ายอิสระที่ไม่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติ เป็นรายจ่ายที่ขึ้นกับแผนการใช้จ่ายของรัฐบาล G Ga Y 0
รายจ่ายในการนำเข้า (M) • รายจ่ายในการนำเข้าในรอบระยะเวลาหนึ่งๆ จะสูงหรือต่ำขึ้นกับ ปัจจัยต่อไปนี้ • รายได้ประชาชาติ • รสนิยมของประชาชนในประเทศ • อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อรายจ่ายในการนำเข้ามากที่สุดคือ รายได้ประชาชาติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน
สมการการนำเข้า M = Mo + mY Mo: รายจ่ายในการนำเข้าอิสระ Mi = mY : รายจ่ายในการนำเข้าโดยจูงใจ M = Mo + mY M Mi Mo Y 0
รายได้สุทธิจากการส่งออก (Net Export : X-M) X-M คือ รายได้จากการส่งออก หัก รายจ่ายในการนำเข้า รายได้จากการส่งออก (X) เป็นตัวแปรอิสระที่ไม่ขึ้นกับรายได้ประชาชาติ ปัจจัยที่กำหนดรายได้จากการส่งออกประกอบด้วย - อุปสงค์ที่ชาวต่างประเทศมีต่อสินค้าของประเทศ - ราคาสินค้าที่ส่งออก - อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
กราฟรายได้จากการส่งออกกราฟรายได้จากการส่งออก X X Y 0
สรุปความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบรายจ่ายประชาชาติC + I + G + (X-M) = AD AD AD = C+I+G+(X-M) Y 0