430 likes | 518 Views
พลังงานทางเลือกกับภาคการเกษตร : ศักยภาพและคำถาม สำหรับพลังงานชีวภาพ. เดชรัต สุขกำเนิด คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ tonklagroup@yahoo.com. วิกฤตพลังงาน : วิกฤตและโอกาสสำหรับภาคการเกษตร. วิกฤตพลังงาน : ภาระการนำเข้าของประเทศ. ที่มา : รายงานพลังงานของประเทศไทย.
E N D
พลังงานทางเลือกกับภาคการเกษตร:ศักยภาพและคำถามสำหรับพลังงานชีวภาพพลังงานทางเลือกกับภาคการเกษตร:ศักยภาพและคำถามสำหรับพลังงานชีวภาพ เดชรัต สุขกำเนิดคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ tonklagroup@yahoo.com
วิกฤตพลังงาน:วิกฤตและโอกาสสำหรับภาคการเกษตรวิกฤตพลังงาน:วิกฤตและโอกาสสำหรับภาคการเกษตร
วิกฤตพลังงาน: ภาระการนำเข้าของประเทศ ที่มา: รายงานพลังงานของประเทศไทย
การพึ่งพาพลังงานในการเกษตรเชิงพาณิชย์การพึ่งพาพลังงานในการเกษตรเชิงพาณิชย์ • ประมาณร้อยละ 70-80 ของการใช้พลังงานในการเกษตรเชิงพาณิชย์จะซ้อนอยู่ในปัจจัยการผลิตสมัยใหม่เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืช ที่มา: จิรากรณ์ คชเสนี
ราคาขายปลีกปุ๋ยเคมีที่ตลาดท้องถิ่น (บาท/ตัน)
การขยายตัวของเชื้อเพลิงชีวภาพการขยายตัวของเชื้อเพลิงชีวภาพ
เป้าหมายการพัฒนาพลังงานชีวภาพในสหภาพยุโรปเป้าหมายการพัฒนาพลังงานชีวภาพในสหภาพยุโรป ที่มา: Renewables 2007Global Status Report
ปริมาณความต้องการน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพของประเทศไทย ในระหว่างปี 2548-2551 ที่มา: กรมธุรกิจพลังงาน, 2551(1)
ทำไมต้องพัฒนาพลังงานชีวภาพทำไมต้องพัฒนาพลังงานชีวภาพ • พลังงานชีวภาพเป็นพลังงานหมุนเวียน • พลังงานชีวภาพช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • พลังงานชีวภาพช่วยเพิ่มรายได้ของภาคการเกษตร • พลังงานชีวภาพช่วยเสริมความมั่นคงของพลังงาน • พลังงานชีวภาพช่วยทำให้เกิดการจ้างงาน • พลังงานชีวภาพมีโครงสร้างที่สอดคล้องกับระบบพลังงานที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ข้อห่วงใยในการพัฒนาพลังงานชีวภาพข้อห่วงใยในการพัฒนาพลังงานชีวภาพ • พลังงานชีวภาพใช้ทรัพยากรที่ดินสิ้นเปลือง • อาจกระทบต่อการผลิตอาหารของโลก • และอาจสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • การใช้ปุ๋ยเคมี, การใช้สารเคมีการเกษตร, การใช้น้ำ • คำถามเกี่ยวกับเรื่องต้นทุนการผลิต และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
วิกฤตอาหารและพลังงาน ในต้นปี 2008
ผู้ได้รับผลกระทบจากราคาอาหารและพลังงานที่เพิ่มขึ้นผู้ได้รับผลกระทบจากราคาอาหารและพลังงานที่เพิ่มขึ้น 10 % ที่จนที่สุด 10 % ที่รวยที่สุด รายจ่ายต่อเดือน 36,100 บาท รายจ่ายต่อเดือน 6,400 บาท
การพัฒนาพลังงานชีวภาพการพัฒนาพลังงานชีวภาพ
ฐานพลังงานชีวภาพในปัจจุบันฐานพลังงานชีวภาพในปัจจุบัน
เทคโนโลยีพลังงานชีวภาพในอนาคตเทคโนโลยีพลังงานชีวภาพในอนาคต • Cellulosic Ethanol • Fischer-Tropsch Fuels (Bio-refinery) • Algae Biodisel • Others • Biobutanol
การพัฒนาพลังงานชีวภาพเป็นเรื่องของนโยบายการพัฒนาพลังงานชีวภาพเป็นเรื่องของนโยบาย • Ethanol (รวม 39.0 billion liters) • USA 18.3 billion liters • Brazil 17.5 billion liters • คิดเป็น 91.8% ของการผลิตทั้งโลก • Biodiesel (รวม 6 billion liters) • Germany 2.8 billion liters • USA 0.85, France 0.63, Italy 0.57 billion liters • คิดเป็น 80.8% ของการผลิตทั้งโลก
มาตรการส่วนต่างของราคากับการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพมาตรการส่วนต่างของราคากับการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพ
การเปิดตลาดทำให้การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนขยายตัวอย่างรวดเร็วการเปิดตลาดทำให้การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนขยายตัวอย่างรวดเร็ว
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวภาพ
อัตราการเรียนรู้ที่ผ่านมาอัตราการเรียนรู้ที่ผ่านมา Source: IEA, 2008
ศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวภาพศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานชีวภาพ ที่มา: JGSEE, 2007
คำถามสำคัญสำหรับทางเลือกพลังงานคำถามสำคัญสำหรับทางเลือกพลังงาน • ทำไมพลังงานทางเลือกจึงเข้ามาในแผนฯ ได้เพียง 1,700 เมกะวัตต์ • ทำไมต้องมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 4,000 เมกะวัตต์อยู่ในทุกทางเลือก • ใครเป็นคนกำหนดทางเลือกต่างๆ และผลกระทบของแต่ละทางเลือกเป็นอย่างไร L = กรณีต่ำ B = กรณีฐาน H = กรณีสูง 1=“ต้นทุนต่ำสุด” 2=“ถ่านหินที่มีความเป็นไปได้” 3=“LNG + ซื้อไฟ ตปท. เพิ่มขึ้น”
คำถามถึงการพัฒนาพลังงานชีวภาพคำถามถึงการพัฒนาพลังงานชีวภาพ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและพลังงานสุทธิจากพลังงานชีวภาพ
สมดุลพลังงานและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของเชื้อเพลิงชีวภาพสมดุลพลังงานและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของเชื้อเพลิงชีวภาพ ที่มา: สรุปจาก Worldwatch Institute,2007 Biofuels for Transportation
คำถามถึงการพัฒนาพลังงานชีวภาพคำถามถึงการพัฒนาพลังงานชีวภาพ การเพิ่มปริมาณการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพกับการเพิ่มผลิตภาพการผลิตทางการเกษตรและการแย่งชิงพื้นที่การผลิตอาหาร
เชื้อเพลิงชีวภาพกับผลิตภาพการเกษตรอัตราการขยายตัวของผลผลิต ระหว่างปีพ.ศ. 2546-2550 (หน่วย: ร้อยละ/ปี) การขยายตัวยังเป็นการขยายเชิงพื้นที่เป็นส่วนใหญ่ (ยกเว้นมันสำปะหลัง)
การเปรียบเทียบผลิตภาพการผลิตในการเพาะปลูกอ้อยของประเทศไทยและประเทศบราซิลการเปรียบเทียบผลิตภาพการผลิตในการเพาะปลูกอ้อยของประเทศไทยและประเทศบราซิล
เป้าหมายการเพิ่มผลิตภาพการผลิตของพืชพลังงานในประเทศไทยเป้าหมายการเพิ่มผลิตภาพการผลิตของพืชพลังงานในประเทศไทย กลไกที่มีประสิทธิผลในการเพิ่มผลิตภาพการผลิต ????
เป้าหมายการขยายการผลิตปาล์มน้ำมันเพื่อรองรับ B5 ทั่วประเทศ ภายในปี 2554(ต้องการน้ำมัน B100 = 3.02 ล้านลิตร/วัน)
ปริมาณผลผลิตข้าวของประเทศไทยในระหว่างปีพ.ศ. 2546-2550 ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ผลตอบแทนการปลูกพืชอาหารและพืชพลังงานผลตอบแทนการปลูกพืชอาหารและพืชพลังงาน
คำถามถึงการพัฒนาพลังงานชีวภาพคำถามถึงการพัฒนาพลังงานชีวภาพ การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพกับการเพิ่มรายได้ของภาคการเกษตร
เชื้อเพลิงชีวภาพและเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรเชื้อเพลิงชีวภาพและเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร
ปัญหาการแบ่งปันผลประโยชน์จากพลังงานชีวภาพปัญหาการแบ่งปันผลประโยชน์จากพลังงานชีวภาพ • ปัญหาจากโครงสร้างตลาดวัตถุดิบ (เช่น เอทานอล) • ผลประโยชน์ยังไม่เข้าระบบ 70:30 • รื้อระบบ 70:30 ให้สอดคล้องกับโครงสร้างใหม่ • เลิกระบบ 70:30 • ปัญหาจากโครงสร้างราคาของเชื้อเพลิงชีวภาพ • รับมือกับความผันผวนของราคาน้ำมันและราคาวัตถุดิบได้อย่างไร
การเปลี่ยนแปลงราคาเอทานอลและก๊าซโซฮอล์การเปลี่ยนแปลงราคาเอทานอลและก๊าซโซฮอล์
คำถามถึงการพัฒนาพลังงานชีวภาพคำถามถึงการพัฒนาพลังงานชีวภาพ การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพกับความอยู่รอดของเกษตรกรรายย่อย
ผู้ได้รับผลกระทบจากราคาอาหารและพลังงานที่เพิ่มขึ้นผู้ได้รับผลกระทบจากราคาอาหารและพลังงานที่เพิ่มขึ้น 10 % ที่จนที่สุด 10 % ที่รวยที่สุด รายจ่ายต่อเดือน 36,100 บาท รายจ่ายต่อเดือน 6,400 บาท
โจทย์สำคัญของการพัฒนาพลังงานชีวภาพโจทย์สำคัญของการพัฒนาพลังงานชีวภาพ • การพัฒนาเทคโนโลยีและลดต้นทุนการผลิต • การสร้างความเท่าเทียมกันในการถือครองที่ดิน • การพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืน • ระบบเกษตรชีวภาพสำหรับพืชพลังงาน • ระบบเกษตรผสมผสาน (พืชอาหารและพืชพลังงาน) • การแบ่งปันผลประโยชน์และโครงสร้างราคา • การจัดการทางโลจิสติกส์สำหรับพลังงานชีวภาพ • การวางแผนพลังงานและการเกษตรในระดับท้องถิ่น
นโยบายสาธารณะด้านพลังงานและการเกษตรนโยบายสาธารณะด้านพลังงานและการเกษตร • องค์กรประสานนโยบายระดับชาติ พลังงาน พัฒนาชุมชนและชนบท เกษตร สิ่งแวดล้อม