350 likes | 560 Views
บ้านโนนตาล ตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. บ้านโนนตาลเป็นแหล่งอาหารที่สมบูรณ์ เกื้อหนุนพระพุทธศาสนา รักษาวัฒนธรรม จารีต ประเพณี สามัคคีร่วมใจพัฒนา ประ ช าธิป ไตรเป็นเลิศ. คำขวัญบ้านโนนตาล.
E N D
บ้านโนนตาลตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
บ้านโนนตาลเป็นแหล่งอาหารที่สมบูรณ์บ้านโนนตาลเป็นแหล่งอาหารที่สมบูรณ์ เกื้อหนุนพระพุทธศาสนา รักษาวัฒนธรรม จารีต ประเพณี สามัคคีร่วมใจพัฒนา ประชาธิปไตรเป็นเลิศ คำขวัญบ้านโนนตาล
บ้านโนนตาล หมู่ ๙ ตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เดิมทีนั้นมีคนอพยพกลุ่มแรกเข้ามาอยู่อาศัยนำโดยมหาชัย จำนงนิตย์ อพยพมาจากบ้านไผ่เมื่อจับจองที่ทำกิน ด้วยเห็นว่าทำเลแห่งนี้อุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่ความสามารถของตนเองซึ่งถนัดในด้านการเกษตร จากนั้นมีผู้คนอพยพข้ามาอยู่อาศัยมากขึ้น เมื่อราวพุทธศักราช 2453 ด้วยสารเหตูที่มีต้นตาลและกระต่ายชุกชุมชาวบ้านจึงเรียกว่า “โนนขี้กระต่าย” ภายหลังทางราชการจึงเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า “บ้านโนนตาล ” ราวพุทธศักราช 2505 ต่อมาได้มีการสร้างวัด และโรงเรียนขึ้นในชุมชน ชาวบ้านได้พากันพัฒนาขึ้นมาเรื่อย ๆ ประวัติหมู่บ้านโนนตาล
จนได้รับการสนับสนุนจากองค์กรต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานราชการต่างทำให้เกิดสาธารณูปโภคกลายเป็นชุมชนที่เข็มแข็ง เมื่อราวปีพุทธศักราช 2511ทางสำนักพุทธศาสนาและสำนักงานที่ดินได้ออกสำรวจวัด เพื่อจะได้จดทะเบียนวัดเป็นทางการ ในสมัยนั้นมีเจ้าอาวาสประจำวัดชื่อ เรือง ชาวบ้านจึงตั้งชื่อวัดว่า วัดตาลเรืองเดิมทีมีเนื้อที่ 7ไร่ 2งาน 80ตารางวา ต่อมาเมื่อพุทธศักราช 2550นายดาวเรือง ภูบังไม้ เป็นผู้ใหญ่บ้าน คุณยายหนวน ทิพย์โยธา พร้อมรู้หลานได้บริจาคที่ดินที่ติดกับรั้ววัดให้กับวัดตาลเรือง แต่เหลืออีกส่วนหนึ่งซึ่งติดกัน ต่อมาคณะกรรมการและชาวบ้านได้ขอชื้อเป็นเงิน 30000บาท เพื่อถวายวัดบ้านตาลเรืองด้วยเหตุนี้วัดจึงมีพื้นที่เพิ่มเป็น 8 ไร่ ประวัติหมู่บ้านโนนตาล (ต่อ )
บ้านโนนตาลหมู่ที่ 9 ตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ทั้งหมด 1845 ไร่ เป็นที่อยู่อาศัย 171 ไร่พื้นที่ทำการเกษตร 1670 ไร่ที่สารธารณะประโยชน์ 4 ไร่ลักษณะหมู่บ้านมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นราบลุ่มเป็นทุ่งนาส่วนใหญ่ ห่างจากแม่น้ำชีเพียง 2 กิโลเมตรห่างจากที่ว่าการอำเภอกันทรวิชัย 11 กิโลเมตรมีห้วยหนองครองบึง อยู่หลายแห่งโดยรอบหมู่บ้าน ทิศเหนือ จรดกับบ้านมะค่ะมีแหล่งน้ำคือลำห้วยกุดกว้างและหนองอีปาน ทิศใต้ จรดกับโขงใหญ่และแม่น้ำชีมีแหล่งน้ำคือ กุดไส้ไก่ ทิศตะวันออก จรดกับบ้านกุดเวียน มีแหล่งน้ำคือ กุดเวียนและหนองฝั่งชัน ทิศตะวันตก จรดบ้านเปลือยน้ำ สถานที่ตั้งบ้านโนนตาล
จำนวนครัวเรือน 119 ครัวเรือน ประชากร 509 คน ชาย 244 หญิง 265 คน จำนวนผู้สูงอายุ 85 คน ผู้พิการ 8 คน ผู้ด้อยโอกาส 2คน ผู้จากไป - คน ผู้ประสบปัญหาตาม ( สย ) - คน ผู้ว่างงาน - คน ประชากรครัวเรือน
- ไม่ได้เรียนหนังสือ – คน - ประถมศึกษา 123 คน - มัธยมศึกษา 65 คน - อนุปริญญา 25 คน - ปริญญาตรี 27 คน - สูงกว่าปริญญาตรี 2 คน สถานศึกษาบ้านโนนมี 2 แห่ง คือ - โรงเรียนบ้านโนนตาลกุดเวียนหนองหญ้าม้า - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนตาล การศึกษา
ภาคเกษตร ทำไร่ - ครัวเรือน ทำนา 91 ครัวเรือน ทำสวน 21 ครัวเรือน ทำเลี้ยงสัตว์ 19 ครัวเรือน ประมง 5 ครัวเรือน นอกภาคเกษตร ค้าขาย 20 ครัวเรือน บริการ - ครัวเรือน รับจ้าง 11 ครัวเรือน รับราชการ 6 ครัวเรือน ลูกจ้างเอกชน - ครัวเรือน ว่างงาน -ครัวเรือน ไปประกอบอาชีพที่อื่น - ครัวเรือน การประกอบอาชีพ
สถานที่สำคัญในหมู่บ้านโรงเรียนบ้านโนนตาลกุดเวียนหนองหญ้าม้าสถานที่สำคัญในหมู่บ้านโรงเรียนบ้านโนนตาลกุดเวียนหนองหญ้าม้า
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนตาล
การตัดเย็บเสื่อผ้าหรือปลอกหมอนจัดทำขึ้นเมื่อ 2550 ปกติได้ไปทำงานในกรุงเทพต่อมาเศรษฐกิจไม่ดีคนที่ไปทำงานด้วยกันจึงพลอยตกงานแล้วได้กับมาจัดตั้งกลุ่มตัดเย็บเสื่อผ้าหรือปลอกหมอนขึ้นมาเพื่อหารายได้และเวลาว่างก็จะทำนาปีและนาปังและจะจัดส่งเสื่อผ้าหรือปลอกหมอนที่ตัดเย็บอาทิตย์ละสองครั้งครั้งละ 200 ชิ้นรับจ้างทำของโรงงาน “สมชายเครื่องนอน” แลรับจ้างทั่วไปในหมู่บ้าน กลุ่มตัดเย็บเสื่อผ้า
ในหมู่บ้านจะมี 2 กลุ่ม 1. กลุ่มตัดเย็บ 2. กลุ่มปลูกเห็ด เป็นกลุ่มธุรกิจส่วนตัว 1. กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ 2. ปลูกผักสวนครัว หมู่บ้านนำร่องกองทุนแม่
1. อ บ ต. 2. หน่วยงานราชการอื่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. วางผ้าตัวหมอนและขอบให้เสมอกัน ใช้เข็มหมุดตรึงไว้เนาผ้า 2 ชิ้น ให้ติดกัน ดึงเข็มหมุดออกใช้ซอล์คขีดเส้นห่างจากริมผ้า 1/2 หรือ 1 เซนติเมตเย็บตะเข็บจริงด้วยวิธี ด้นถอยหลัง หรือ ด้นตะลุย ขั้นตอนการตัดเย็บเสื่อผ้า
2.กลับผ้าขอบ รีดตะเข็บให้เรียบ 3.พับกันลุ่ยแล้วเนาติดกลับผ้าผืนใหญ่ 4.เย็บตะเข็บด้นตะลุยเท่านั้น รีดให้เรียบดึงผ้าเนาออก 5.ผับครึ่งผ้า โดยเอาลายผ้าจริงไว้ข้างใน 6.เย็บตะเข็บจริงให้แน่นหนา โดยเย็บด้วยด้นตะลุย หรือ ด้นถอยหลังก็ได้ 7.เย็บมุมให้มันตั้งฉากกัน 8.กลับผ้าด้านถูกออก ใช้ปลายดินสอสอดมุมให้เรียบร้อย รีดให้เรียบแล้วเอาปลอกหมอนที่ทำเสร็ดแล้วนำมาไส่หมอนนำไปหนุนได้