1 / 57

หลักเกณฑ์และ วิธีการสอบสวนทางวินัย

หลักเกณฑ์และ วิธีการสอบสวนทางวินัย. ปรัชญาการดำเนินการทางวินัย. 1. ยุติธรรม (JUSTICE) 2. เป็นธรรม (FAIRNESS) 3. รวดเร็ว (PROMPTNESS). คุณสมบัติของผู้ดำเนินการทางวินัย. - รอบรู้ - มีคุณธรรม - มีความกล้าหาญ. 1.ร้องเรียน/บัตรสนเท่ห์. ร้ายแรง. ผบ. สอบสวน. มีมูล. 2.ตรวจเห็นเอง.

truman
Download Presentation

หลักเกณฑ์และ วิธีการสอบสวนทางวินัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์และ วิธีการสอบสวนทางวินัย

  2. ปรัชญาการดำเนินการทางวินัยปรัชญาการดำเนินการทางวินัย 1. ยุติธรรม(JUSTICE)2. เป็นธรรม(FAIRNESS)3. รวดเร็ว(PROMPTNESS)

  3. คุณสมบัติของผู้ดำเนินการทางวินัยคุณสมบัติของผู้ดำเนินการทางวินัย - รอบรู้ - มีคุณธรรม - มีความกล้าหาญ

  4. 1.ร้องเรียน/บัตรสนเท่ห์1.ร้องเรียน/บัตรสนเท่ห์ ร้ายแรง ผบ. สอบสวน มีมูล 2.ตรวจเห็นเอง สืบสวน 3.สื่อมวลชน ไม่ร้ายแรง 4.สตง. 5.ปปช.(สำนวน/ฐานความผิด) ก่อนวินัย ดำเนินการทางวินัย

  5. ประเด็นแรก ใครที่มีอำนาจดำเนินการทางวินัย ?

  6. ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ดำเนินการทางวินัยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่า กระทำผิดวินัย

  7. ประเด็นที่สอง: วิธีการดำเนินการ • สืบสวนข้อเท็จจริง • สอบสวนทางวินัย

  8. การสืบสวนทางวินัย หมายถึง การแสวงหา ข้อเท็จจริง และ หลักฐานเพื่อจะทราบรายละเอียดของเรื่องใดๆ เพื่อพิจารณาว่า กรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่า ผู้ใดกระทำผิดวินัยหรือไม่

  9. มีมูลหรือไม่ ? • มีการกระทำตามที่ถูกกล่าวหา • ผู้ถูกกล่าวหาเกี่ยวข้องกับการนั้น

  10. หลักเกณฑ์การรับฟังบัตรสนเทห์หลักเกณฑ์การรับฟังบัตรสนเทห์ • ระบุพยานหลักฐานชัดเจน • ให้สืบสวนเป็นทางลับ • บันทึกผลการดำเนินการ

  11. กรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่า กระทำผิดวินัย ให้สอบสวนเพื่อให้ได้ความจริงและยุติธรรม

  12. การดำเนินการทางวินัยต้องมีการสอบสวนการดำเนินการทางวินัยต้องมีการสอบสวน • ต้องมีการกล่าวหาว่า กระทำผิดวินัย • ให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงและนำสืบแก้ข้อกล่าวหา

  13. การสอบสวน:การรวบรวมพยานหลักฐานและการดำเนินการใดๆเกี่ยวกับเรื่องที่มีกล่าวหาว่ามีการกระทำผิดวินัย เพื่อให้ทราบพฤติการณ์และข้อเท็จจริงในเรื่องที่กล่าวหานั้น และเพื่อให้การดำเนินการทางวินัยได้ความจริงและยุติธรรม

  14. ขอบเขตของการสอบสวน x / ยึดหลักการฟังความสองฝ่าย

  15. ก่อนออกคำสั่งทางปกครองก่อนออกคำสั่งทางปกครอง • มีโอกาสทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ • มีโอกาสโต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตน

  16. การสอบสวน ไม่ร้ายแรง ร้ายแรง - สอบตามวิธีการที่ผู้บังคับบัญชาเห็นสมควร - แจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบฐานะ - ให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง - ตั้งคณะกรรมการขึ้นทำการสอบสวน - สอบสวนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.กำหนด

  17. ดำเนินการตามวิธีการที่เห็นสมควรดำเนินการตามวิธีการที่เห็นสมควร • สอบสวนเอง • มอบหมาย • แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน

  18. ข้อแตกต่าง ร้ายแรง/ไม่ร้ายแรง 1. เลื่อนขั้นเงินเดือน/ตำแหน่ง 2. ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน 3. ฐานะของกรรมการสอบสวน 4. สั่งพัก/สั่งให้ออกไว้ก่อน 5. เงินสมนาคุณ

  19. ผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน  นายกรัฐมนตรี  ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 52 - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด - ปลัดกระทรวง - อธิบดี - ผู้ว่าราชการจังหวัด  ผู้บังคับบัญชาที่ได้รับรายงาน ใช้อำนาจ ตามมาตรา 109 วรรคสาม  ก.พ. (มาตรา 110)

  20. กรณีที่จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณีที่จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน  ทุจริตต่อหน้าที่ มาตรา 82 วรรคสาม  ประมาทฯ มาตรา 84 วรรคสอง  จงใจฯ มาตรา 85 วรรคสอง เปิดเผยความลับ มาตรา 87 วรรคสอง ขัดคำสั่ง มาตรา 88 วรรคสอง รายงานเท็จ มาตรา 90 วรรคสอง ละทิ้ง มาตรา 92 วรรคสอง ดูหมิ่น มาตรา 94 วรรคสอง ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง มาตรา 98 วรรคสอง หย่อนความสามารถ/ขาดคุณสมบัติ(ไม่ใช่วินัย)

  21. ข้อยกเว้น ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง ไม่ร้ายแรง ร้ายแรง - ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทำผิด - รับสารภาพเป็นหนังสือ - ได้รับโทษจำคุก(ไม่ประมาท) - ละทิ้งหน้าที่(ติดต่อเกิน 15 วัน) - รับสารภาพเป็นหนังสือ

  22. องค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการสอบสวน (3) คุณสมบัติ องค์ประกอบ 1. ประธานกรรมการ 2. กรรมการอย่างน้อย 2 คน 3. ผู้ช่วยเลขานุการ (กรณีจำเป็น) 1. เป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือน 2. ประธานฯ ระดับไม่ต่ำกว่าผู้ถูกกล่าวหา 3. ต้องมีนิติกร ผู้ได้รับปริญญาทางกฎหมาย ผู้ผ่านการฝึกอบรมฯ ผู้มีประสบการณ์ฯ

  23. องค์ประกอบของคำสั่งฯ 1. ชื่อและตำแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา2. เรื่องที่กล่าวหา3. ชื่อและตำแหน่งของคณะกรรมการสอบสวน ทำตามแบบ สว.1

  24. เรื่องกล่าวหา หมายถึง การกระทำหรือพฤติการณ์ทั้งหลายที่กล่าวอ้างว่า ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัย

  25. การแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนการแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ผู้ถูกกล่าวหา คณะกรรมการสอบสวน - ให้ลงลายมือชื่อและวันที่รับทราบ- มอบสำเนาคำสั่ง- ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ- พ้น 15 วัน ถือว่ารับทราบ - ส่งสำเนาคำสั่ง- ส่งหลักฐานการรับทราบ- เอกสารหลักฐานเกี่ยวกับเรื่องที่กล่าวหา- ประธานฯ ลงลายมือชื่อรับทราบ

  26. การวินิจฉัยชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานการวินิจฉัยชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน • ต้องปราศจากอคติ • ต้องไม่มีส่วนได้เสีย • ต้องไม่เอาเหตุผลส่วนตัวลงไปในคำวินิจฉัย

  27. การคัดค้านกรรมการสอบสวน (8) ประธาน 7 วัน ผู้สั่งแต่งตั้งฯ ผู้คัดค้าน พิจารณาคำคัดค้าน - รู้เห็นเหตุการณ์- มีประโยชน์ได้เสีย- มีสาเหตุโกรธเคือง- ผู้กล่าวหา คู่สมรส ฯลฯ- เหตุอื่น ๆ 15 วัน ฟังได้ ฟังไม่ได้ ผู้ถูกคัดค้านพ้นจาก ก.ก. ยกคำคัดค้าน

  28. กรณีไม่สั่งการ เปลี่ยนตัว ก.ก. เลขานุการ ผู้สั่งแต่งตั้ง

  29. การรายงานเหตุอันอาจถูกคัดค้านการรายงานเหตุอันอาจถูกคัดค้าน ผู้สั่งฯ กรรมการ เหตุตามข้อ 8 วรรคหนึ่ง นำข้อ 8 วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคห้า มาใช้บังคับโดยอนุโลม

  30. การเปลี่ยนตัวกรรมการฯการเปลี่ยนตัวกรรมการฯ - เปลี่ยนตัวกรรมการ- แสดงเหตุแห่งการสั่ง- ดำเนินการแจ้งตามข้อ 5 ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน

  31. หน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวนหน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน สอบสวนตามกฎ แสวงหาความจริง ดูแลให้เกิดความยุติธรรม รวบรวมประวัติความประพฤติของผู้ถูกกล่าวหา จัดทำบันทึกประจำวัน

  32. การประชุมพิจารณาของคณะกรรมการสอบสวน (7) กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (เว้นข้อ 15 และข้อ 30) ประธานกรรมการต้องอยู่ร่วมประชุม การลงมติให้ถือเสียงข้างมาก

  33. ประเด็น คือ จุดสำคัญที่จะต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย เพราะเป็นจุดที่ยังโต้เถียงกันอยู่ หรือยังไม่ได้ความกระจ่างชัด

  34. ประเด็นแบ่งออกได้เป็น สอง ลักษณะ • ประเด็นการสอบสวน • ประเด็นการพิจารณา

  35. ประเด็นการสอบสวน • วางแนวทางการสอบสวนว่าจะสอบสวนใครบ้าง? • สอบสวนในเรื่องอะไร? • จะรวบรวมพยานหลักฐานอะไรบ้าง ?

  36. ประเด็นการสอบสวน กำหนดได้จาก 1. ข้อมูลเบื้องต้น 2. เรื่องกล่าวหา 3. ข้อกล่าวหาตามเรื่องกล่าวหา 4. คำให้การเบื้องต้นของผู้ถูกกล่าวหา 5. พยานหลักฐานที่รวบรวมได้ในเบื้องต้น (อาจเปลี่ยนแปลงไปตามขั้นตอนการสอบสวน)

  37. ประเด็นการพิจารณา เกี่ยวกับ: ใครทำอะไร ? ผิดหรือไม่ ? ร้ายแรงแค่ไหน ?

  38. จุดสำคัญที่ต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัยจุดสำคัญที่ต้องพิสูจน์หรือวินิจฉัย • ประเด็นเกี่ยวกับการกระทำ • ประเด็นเกี่ยวกับกรณีความผิด • ประเด็นเกี่ยวกับความร้ายแรงแห่งกรณี

  39. การแจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา (14) สว.2 ทำจริง ? ไม่รับ รวบรวมพยานฯฝ่ายกล่าวหา - กระทำการใด- เมื่อใด- อย่างไร- แจ้งสิทธิ รับ แจ้งว่าผิดกรณีใด ยืนยัน บันทึกถ้อยคำ สรุป สอบสวนต่อ

  40. การส่งทางไปรษณีย์ฯ 1 ฉบับ บันทึก สว.2 หนังสือสอบถาม

  41. ประเภทของพยานหลักฐาน • พยานวัตถุ • พยานเอกสาร • พยานบุคคล • พยานผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ชำนาญการพิเศษ

  42. หลักเกณฑ์การรวบรวมพยานหลักฐานหลักเกณฑ์การรวบรวมพยานหลักฐาน บันทึกการได้มาของพยานเอกสารหรือพยานวัตถุ พยานเอกสารให้ใช้ต้นฉบับ ห้ามบุคคลอื่นร่วมทำการสอบสวน องค์คณะสอบสวน แจ้งฐานะกรรมการสอบสวน ห้ามล่อลวง ขู่เข็ญ ให้สัญญาหรือกระทำการเพื่อจูงใจ ในการให้ถ้อยคำ

  43. ห้ามบุคคลอื่นอยู่ในที่สอบสวน/สอบทีละคน การลงชื่อในบันทึกถ้อยคำ การแก้ไขข้อความในบันทึกถ้อยคำ การตัดพยาน การงดสอบสวนพยาน การสอบสวนฯ พยานซึ่งอยู่ต่างท้องที่

  44. การแจ้ง สว. 3 (15) ประชุมพิจารณาพยานหลักฐานฝ่ายกล่าวหา แจ้งข้อกล่าวหา (ผิดกรณีใด มาตราใด) สรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา(ระบุวัน เวลา สถานที่ การกระทำ) ถามผู้ถูกกล่าวหา ยื่นคำชี้แจง (15 วัน) ให้ถ้อยคำ (นัดโดยเร็ว)

  45. มีคำพิพากษาถึงที่สุดเกี่ยวกับเรื่องที่กล่าวหา (28) มีคำพิพากษา ข้อเท็จจริงได้ความประจักษ์ชัด ใช้คำพิพากษาเป็นพยานฯ สนับสนุนข้อกล่าวหา แจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ แจ้ง สว.3

  46. การรวบรวมพยานหลักฐานเพิ่มเติม (16)  ในกรณีจำเป็น  สรุปพยานหลักฐานเพิ่มเติมที่สนับสนุน ข้อกล่าวหา  ให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาแก้ข้อกล่าวหา

  47. การยื่นคำชี้แจงเพิ่มเติมการยื่นคำชี้แจงเพิ่มเติม ก่อนสอบสวนเสร็จก่อนมีคำสั่ง  ยื่นคำชี้แจง  ยื่นคำชี้แจง  ขอให้ถ้อยคำ

  48. เห็นว่าทำผิดเรื่องอื่น (25) ประธานฯ รายงาน สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้สั่งแต่งตั้งฯ สอบสวนเห็นว่าผู้อื่นร่วมกระทำผิดด้วย (26)

  49. สอบมาตรา 115 แล้วพบว่าทำผิดร้ายแรง (27) ผบ.ตั้งสอบตามมาตรา 115 (หย่อน) แต่งตั้งคณะกรรมการฯแล้วเห็นว่ามีมูลเป็นการกระทำผิดร้ายแรง มาตรา 102 (นำสำนวน มาตรา 115 มาใช้ได้) ตั้งร้ายแรง ผลที่ได้คือ หย่อนความสามารถ ผลที่ได้คือ ไม่ร้ายแรง ตั้งร้ายแรง ผลที่ได้คือ ร้ายแรง ตั้งไม่ร้ายแรง

  50. กรณีผู้ถูกกล่าวหาย้าย - โอน (29) สอบสวนจนเสร็จ รายงานการสอบสวน ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบความถูกต้อง ส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาคนใหม่ ตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วย

More Related