1 / 29

บทที่ 6 ของเหลวและของแข็ง (Liquids and Solids)

บทที่ 6 ของเหลวและของแข็ง (Liquids and Solids). gas โมเลกุลอยู่ห่างกัน (gaseous state) liquid โมเลกุลชิดกัน (condensed state) solid เพราะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล (intermolecular forces). Intermolecular forces (IMF)

Download Presentation

บทที่ 6 ของเหลวและของแข็ง (Liquids and Solids)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 ของเหลวและของแข็ง (Liquids and Solids) gas โมเลกุลอยู่ห่างกัน (gaseous state) liquid โมเลกุลชิดกัน (condensed state) solid เพราะมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล (intermolecular forces)

  2. Intermolecular forces(IMF) : แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่เป็นของแข็งหรือของเหลว : เป็นแรงที่อ่อนกว่า แรงภายในโมเลกุล (intramolecular forces) (หรือ พันธะเคมี) 1. Dipole-dipoleforce 2. Dipole-induceddipoleforce รวมเรียกว่าVan der Waals force 3. Dispersionforce 4. Ion-dipoleforce 5. Ion-induceddipoleforce หมายเหตุHydrogenbond เป็น dipole-dipoleforce ชนิดพิเศษ

  3. 1. แรงขั้วคู่ - ขั้วคู่ (dipole–dipoleforces) - เกิดระหว่างpolar molecules - เรียกpermanent dipole bond ก็ได้ - ทำให้โมเลกุลจัดตัวเพื่อมีแรงดึงดูดสูงสุด - polar molecule ที่มี dipolemoment สูง (แรง d-d มาก) เช่น HClHBrHIH2SNH3

  4. 2. แรงขั้วคู่-ขั้วคู่เหนี่ยวนำ(dipole- induced dipole forces) - เกิดระหว่างpolar molecule กับ non-polar molecule เช่น H2O กับ I2 3. แรงแผ่กระจาย(dispersionforces) - เกิดระหว่างโมเลกุล ที่เป็น non-polarmolecules เช่น H2 กับ I2 - ถ้ามีขนาดของโมเลกุลใหญ่ (จำนวนอิเล็กตรอนมาก) ก็จะยิ่งมีแรงชนิดนี้มากขึ้นด้วยเช่น CH3F มีจุดหลอมเหลว –141.8 oC แต่ CCl4 กลับมีจุดหลอมเหลว –23 oC ทั้งๆ ที่ CCl4 เป็นโมเลกุล ที่ไม่มีขั้ว แต่ CH3F เป็นโมเลกุลที่มีขั้ว

  5. 4. แรงไอออน–ขั้วคู่ (ion-dipoleforces) - เกิดระหว่างไอออนกับ polarmolecule - ความแรง (strength) ของแรงนี้ ขึ้นกับ * ประจุ ขนาดของไอออน * ขนาดdipole moment * ขนาดโมเลกุล

  6. 5. แรงไอออน–ขั้วคู่เหนี่ยวนำ(ion–induceddipoleforces) - เกิดระหว่างไอออนกับ nonpolar molecule ซึ่งถูกแรงดึงดูดจาก ไอออนเหนี่ยวนำอิเล็กตรอนให้เคลื่อนที่ไปข้างใดข้างหนึ่ง เกิด dipole ขึ้นได้ เรียกว่าinduced dipole - ความแรงขึ้นอยู่กับ 1. ประจุไอออน 2. polarizability - เกิดชั่วคราว

  7. พันธะไฮโดรเจน(Hydrogenbond) - เป็นพันธะแบบพิเศษของdipole-dipoleforces - เกิดระหว่างอะตอม H ใน polar bond กับอะตอมลบ (ค่า EN > H) เช่น N-HO-HF-H - เป็นพันธะที่แข็งแรง (40 kJ/mol) - เช่น H2O กับ NH3

  8. สถานะของเหลว(liquid state) - สภาวะโมเลกุลชิดกัน (condensed) - ศึกษาสมบัติของของเหลว คือ ความตึงผิว และความหนืด ความตึงผิว(surfacetension) : พลังงานที่ใช้ทำให้ของเหลวขยายพื้นที่ผิว (ให้โมเลกุลออกห่างกัน) - เกิดจากโมเลกุลของเหลวมีแรง IMF กับโมเลกุลรอบ ๆ ทุกทิศทาง - สำหรับโมเลกุลที่ผิวเหลือแต่แรงด้านข้างกับข้างใต้ - ส่งผลให้เหมือนชั้นโมเลกุล เป็นแผ่นฟิล์มที่ดึงกันไว้ที่ผิว

  9. ถ้า intermolecularforce สูง ส่งผลให้ surfacetension สูง - intermolecularattractionระหว่างโมเลกุลเหมือนกัน = Cohesion - intermolecularattractionระหว่างโมเลกุลต่างกัน = Adhesion ตัวอย่างผลของ surface tension, cohesion / adhesion ในหลอด capillary ดังรูป (a) adhesion > cohesion (b) adhesion < cohesion (a) (b)

  10. ความหนืด(Viscosity) : ความต้านทานการไหล (flow) ของของไหล (fluid) - ถ้าหนืดมาก ไหลช้าลง - โมเลกุลมี IMF มาก ความหนืดสูง - ความหนืดจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น

  11. ของเหลว viscosity (N.s/m2) glycerol 1.49 H2O 1.01 10-3 C2H5OH 1.20  10-3 Blood4.00  10-3 เกิด H-bond มาก ดังนั้น viscosity สูงมาก Glycerin

  12. สถานะของแข็ง(solid state) ของแข็ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

  13. หน่วยเซลล์ (Unitcell) : หน่วยเล็กที่สุดของผลึก (crystal) ที่แสดงลักษณะการเรียงตัว ของอนุภาคได้อย่างสมบูรณ์ : แสดงตำแหน่งของไอออน โมเลกุล : จุด อนุภาค อะตอม ไอออน หรือโมเลกุล เรียกว่า จุดแลตทิซ หรือ จุดโครงผลึก (lattice point) Lattice Point

  14. ชนิดของ Unit cell มี 7 ชนิด แบ่งย่อยรวมได้ 14 แบบ คือ Cubic 1. Simplecubic(SC) 2. Body - centeredcubic(BCC) 3. Face - centeredcubic(FCC) Tetragonal 4. Simple 5. Body - centered Orthorhombic 6. Simple 7. Body - centered 8. End - centered 9. Face - centered

  15. ชนิดของ Unit cell(ต่อ) Rhombohedral 10. Rhombohedral Monoclinic 11. Simple 12. End - centered Triclinic 13. Triclinic Hexagonal 14. Hexagonal

  16. ชนิดของ Unit cell(ต่อ)

  17. Cubic แบ่งเป็น 3 ประเภท SC BCC FCC

  18. เลขโคออร์ดิเนชัน (Coordinationnumber) : จำนวนอะตอมที่ห้อมล้อมอะตอมใดอะตอมหนึ่ง โดย SC, BCC, และ FCC มี coordinationnumber เท่ากับ 6, 8 และ 12 ตามลำดับ Simple Cubic Body Center Cubic Face Center Cubic

  19. ความสัมพันธ์ระหว่างรัศมีอะตอมกับความยาวตามขอบของหน่วยเซลล์ความสัมพันธ์ระหว่างรัศมีอะตอมกับความยาวตามขอบของหน่วยเซลล์ จำนวนอะตอมที่บรรจุอยู่ในหน่วยเซลล์แบบ SC = 1 อะตอม BCC= 2 อะตอม FCC = 4 อะตอม

  20. ประสิทธิภาพการเรียงตัว (Packingefficiency) : แสดงเปอร์เซ็นต์ของ unit cell ที่มีอะตอมอยู่ภายใน Packingefficiency = ปริมาตรอะตอมทั้งหมด X 100 ปริมาตร unit cell ตัวอย่างที่ 1 ถ้า unitcell คือ SC จงคำนวณ packing efficiency ก) หาปริมาตร unitcell ด้าน a = 2rr = a / 2 ปริมาตร unit cell = a3

  21. ข) หาปริมาตร atom 1 atom = 4/3 r3 = 4/3  (a/2)3 แบบ SC 1 unitcell มีอะตอมภายในรวม = 1 atom [(1/8)  8] ดังนั้น สำหรับ SC จะมี Packingefficiency=  100 = ( /6 )  100 = 52% ดังนั้น SC = 52% BCC = 68% FCC = 74%

  22. ตัวอย่างที่ 2ทองคำ (Au) มีผลึกแบบ FCC มี r = 144pm จงคำนวณความหนาแน่น (density) ของผลึกนี้ (กำหนด Au = 197 และ 1 pm = 10-10 cm) จาก ความหนาแน่น = ดูรูป FCC ; a = r = (144 pm) = 407 pm = 407  10-10 cm unit cell มีปริมาตร = a3= (407  10-10cm)3 = 6.74  10-23cm3 ปริมาตร unit cell

  23. ใน1 unit cellนับจำนวนอะตอมได้ (FCC) = 4 อะตอม จะได้ว่าใน 1 โมล มี 6.02  1023 อะตอม = 197 กรัม (มวลอะตอม) ถ้ามี 4 อะตอม = = 1. 31  10-21 กรัม ความหนาแน่น = = 19.4 g/cm3 (จากการทดลองวัด d = 19.3 g/cm3) D =

  24. ชนิดของผลึก - แรงต่าง ๆ ยึดอนุภาคให้เป็นผลึกแบบต่าง ๆ - มีผลต่อคุณสมบัติ * ความแข็งแกร่ง * จุดเดือด * จุดหลอมเหลว Quartz Crystal

  25. ชนิดของผลึกต่างๆ

  26. ของแข็งอสัณฐาน(Amorphoussolids) - อสัณฐาน (ไม่เป็นผลึก) - แก้ว (glass) 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

  27. การเปลี่ยนแปลงวัฏภาค(phasechanges)การเปลี่ยนแปลงวัฏภาค(phasechanges) คือ การที่สารเปลี่ยนจากวัฏภาคหนึ่งไปยังอีกวัฏภาคหนึ่ง 1. Solid - liquidequilibrium 2. Liquid - vaporequilibrium 3. Solid - vaporequilibrium

  28. จุดเดือด(Boiling point, b.p.) คือ อุณหภูมิที่ของเหลวมีความดันไอ เท่ากับ ความดันบรรยากาศ (1 atm) จุดหลอมเหลว (Melting point, m.p.)คือ อุณหภูมิที่ solid และ liquid อยู่ในสภาพสมดุลไดนามิก ที่ 1 atm

  29. แผนภาพวัฏภาค (Phasediagram) • - แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิ ความดัน และ phase ต่าง ๆ • จุดตัดของ 3 phase เรียกจุดร่วมสาม (triple point) คือ ทั้ง 3 phase • อยู่ในภาวะสมดุลกัน • - ตัวอย่าง H2O ที่ P = 1 atm จุดเดือด = 100 oC • ถ้า P < 1 atm จุดเดือด < 100 oC

More Related