1 / 10

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น. ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (ASEAN-Japan Comprehensive Economic Partnership-AJCEP). ผู้นำลงนาม Framework for ASEAN-Japan Comprehensive Partnership เมื่อปี 2003 เริ่มเจรจาเมษายน 2005 / เจรจามาแล้ว 7 รอบ (ล่าสุดเมื่อเดือนเมษายน 2550)

trey
Download Presentation

ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่นความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น

  2. ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (ASEAN-Japan Comprehensive Economic Partnership-AJCEP) • ผู้นำลงนาม Framework for ASEAN-Japan Comprehensive Partnership เมื่อปี 2003 • เริ่มเจรจาเมษายน 2005 / เจรจามาแล้ว 7 รอบ (ล่าสุดเมื่อเดือนเมษายน 2550) • กำหนดเจรจาให้เสร็จในปี 2007 • คาดว่า ความตกลงจะมีผลบังคับใช้ได้ในปี 2008

  3. สาระสำคัญของการเจรจาความตกลง AJCEP • 4 Pillars คือ การเปิดเสรี กฎเกณฑ์ทางการค้า การอำนวยความสะดวกทางการค้า และความร่วมมือ • การเปิดเสรีได้แก่ การเปิดตลาดสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน • กฎเกณฑ์ทางการค้า เช่น กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า • การอำนวยความสะดวกทางการค้า เช่น พิธีการศุลกากร การค้าไร้กระดาษ • ความร่วมมือ เช่น SMEs, ICT, HR เป็นต้น • Single Undertaking –จะต้องตกลงในทุกเรื่องของการเจรจาก่อนที่จะสรุปผลการเจรจา

  4. เป้าหมายของไทยในการเจรจา AJCEP • ไทยมีความตกลงทวิภาคี (JTEPA) กับญี่ปุ่นแล้ว ดังนั้น การเจรจาภายใต้ AJCEP คือ การเจรจาที่จะต้องมีมูลค่าเพิ่ม (Value-added) มากกว่าความตกลง JTEPA คือ จะต้องได้ประโยชน์เพิ่มเติมจากความตกลง JTEPA • หากความตกลง AJCEP มีผลบังคับใช้ คาดว่า จะทำให้ประเทศในอาเซียนเป็นฐานการผลิต (Production Network) ของญี่ปุ่นมากขึ้น และไทยอาจได้รับประโยชน์ในเรื่องกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า โดยสามารถใช้วัตถุดิบจากประเทศอาเซียนในการผลิตสินค้าเพื่อส่งออกไปญี่ปุ่น รวมทั้งส่งออกวัตถุดิบเพื่อใช้ในการผลิตในประเทศอาเซียนอื่นๆ

  5. การเจรจาการเปิดตลาดสินค้าการเจรจาการเปิดตลาดสินค้า • ขณะนี้ ทั้งสองฝ่ายได้ตกลงModality การเปิดตลาดได้ในหลักการแล้ว โดยภายใต้ AJCEP อาเซียนและญี่ปุ่นจะดำเนินการเปิดตลาดตาม Modality • จะมีการแลกเปลี่ยนรายการสินค้า ในเดือนมิถุนายน 2550 ก่อนการเจรจารอบที่ 8

  6. Coverage Target (Trade Volume) 100% ・No more than 50% tariff rate (including no more than 20% tariff rate and tariff reduction by 10-50 %) 99% Exclusion Highly Sensitive List (other commitments) 96.8% Tariff reduction to 0-5% within 10 years (with particular safety-net measures for 2% (TV) at maximum) Sensitive List (Tariff reduction to 0-5%) 92% 90% 88% Normal Track (Tariff elimination within 10 years) 10 year elimination 5 year elimination Immediate elimination Japanese Proposal

  7. Coverage Target (Trade Volume) 100% ・No more than 50% tariff rate (as provided in bilaterals) ≤99% Exclusion Highly Sensitive List (other commitments) 93.8% Tariff reduction to 0-5% within 10 years (as provided in bilaterals) Sensitive List (Tariff reduction to 0-5%) 90% Normal Track (Tariff elimination within 10 years) Immediate elimination (as provided in bilaterals) ASEAN 6 Proposal

  8. การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการและการลงทุนการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการและการลงทุน • จะไม่มีการเปิดเสรีเพิ่มเติมไปจากความตกลงทวิภาคีโดยข้อบทจะเป็นแบบ Minimalist Approach • จะตั้งคณะกรรมการเพื่อหารือเรื่องแนวทางการเจรจาการเปิดตลาดและขยายความร่วมมือในอนาคต

  9. การส่งเสริมบรรยากาศทางธุรกิจการส่งเสริมบรรยากาศทางธุรกิจ ทรัพย์สินทางปัญญา เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HR) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การท่องเที่ยว การขนส่งและระบบ Logistics มาตรฐานการยอมรับร่วมกัน ความร่วมมือด้านการเงิน ความปลอดภัยทางอาหาร SPS TBT อื่นๆ ตามแต่ความสนใจของแต่ละฝ่าย ความร่วมมือในสาขาต่างๆ ญี่ปุ่นจะมีงบประมาณสำหรับการดำเนินการภายใต้ AJCEP อีก 52 ล้านเหรียญ US$

  10. การดำเนินการต่อไป • จะมีการประชุมเจรจารอบที่ 8 ในเดือนมิถุนายน 2550 • คณะทำงานในเรื่องต่างๆ เช่น การค้าบริการ/การลงทุน / กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า / การระงับข้อพิพาท / ความร่วมมือฯ จะเริ่มหารือในเดือนมิถุนายน 2550

More Related