1 / 133

บทที่ 4

บทที่ 4. การวิเคราะห์ต้นทุนรวม และการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กำไร. งบกำไรขาดทุนแบบต้นทุนผันแปร. ขาย (หน่วยขาย X P / น) XXX หัก ต้นทุนผันแปร (หน่วยขาย X V / น) XXX กำไรส่วนเกิน ( หน่วยขาย X กำไรส่วนเกิน / น) XXX หัก ต้นทุนคงที่ XXX กำไรก่อนหักภาษี XXX

trella
Download Presentation

บทที่ 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 การวิเคราะห์ต้นทุนรวม และการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กำไร

  2. งบกำไรขาดทุนแบบต้นทุนผันแปรงบกำไรขาดทุนแบบต้นทุนผันแปร ขาย(หน่วยขาย X P / น) XXX หัก ต้นทุนผันแปร (หน่วยขาย X V / น)XXX กำไรส่วนเกิน (หน่วยขาย X กำไรส่วนเกิน / น) XXX หัก ต้นทุนคงที่ XXX กำไรก่อนหักภาษี XXX หัก ภาษีเงินได้ (%) XXX กำไรสุทธิXXX

  3. คำศัพท์เกี่ยวข้อง ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) หมายถึง ต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงเป็นอัตราส่วนโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงของระดับกิจกรรม เช่น ในการผลิตสินค้า 1 หน่วย ใช้วัตถุดิบ 2 ชิ้น ชิ้นละ 3 บาท จะเป็นเงิน 6 บาท ถ้าผลิตสินค้า 3 หน่วย จะต้องใช้วัตถุดิบ 6 ชิ้น เป็นเงิน 18 บาท

  4. คำศัพท์เกี่ยวข้อง ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) หมายถึง ต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงตลอดช่วงหนึ่งของระดับกิจกรรม เช่น ค่าเช่าสถานที่ 1 ห้อง 1,000 บาท สำหรับการผลิตตั้งแต่ 0-5,000 หน่วย

  5. คำศัพท์เกี่ยวข้อง

  6. คำศัพท์เกี่ยวข้อง

  7. คำศัพท์เกี่ยวข้อง

  8. คำศัพท์เกี่ยวข้อง

  9. คำศัพท์เกี่ยวข้อง

  10. คำศัพท์เกี่ยวข้อง

  11. คำศัพท์เกี่ยวข้อง

  12. คำศัพท์เกี่ยวข้อง

  13. คำศัพท์เกี่ยวข้อง

  14. คำศัพท์เกี่ยวข้อง ต้นทุนรวม (Mixed Costs) หมายถึง ต้นทุนที่มีทั้งส่วนที่คงที่และส่วนที่ผันแปรรวมอยู่ โดยส่วนที่คงที่เป็นต้นทุนอย่างน้อยของการให้บริหารและส่วนที่ผันแปรเป็นต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับระดับของกิจกรรม

  15. การวิเคราะห์ต้นทุนรวมการวิเคราะห์ต้นทุนรวม ต้นทุนรวมประกอบไปด้วย ต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร ซึ่งสามารถคำนวณหาต้นทุนรวมได้โดยใช้สมการ Y = a + bx โดยกำหนดให้ Y = ต้นทุนรวม a = ต้นทุนคงที่รวม b = อัตราต้นทุนผันแปรต่อหน่วย x = ระดับกิจกรรม

  16. ตัวอย่างการหาต้นทุนรวมตัวอย่างการหาต้นทุนรวม โดยกำหนดให้ a =5,000 บาท b =40 บาทต่อหน่วย x = ผลิต 600 หน่วย Y = ? Y = a + bx Y = 5,000 + 40x

  17. ตัวอย่างการหาต้นทุนรวม (ต่อ) Y = a + bx Y = 5,000 + 40(600) Y = 5,000 + 24,000 Y = 29,000

  18. ตัวอย่างการหาต้นทุนรวม (ต่อ) เพราะฉะนั้น ถ้าผลิต 600 หน่วยเกิดต้นทุนเท่ากับ 29,000 บาท

  19. ปัญหาจากข้อมูล ถ้าเดือน สิงหาคม ใช้ชั่วโมงเครื่องจักร 4,200 ชม. ต้นทุนรวม = ?

  20. วิธีวิเคราะห์ต้นทุนรวม 1. วิธีวิเคราะห์ตามระดับกิจกรรมสูง - ต่ำ (The High-low Method) ตามวิธีนี้ จะคำนวณโดยใช้ข้อมูลของต้นทุนรวม ณ ระดับกิจกรรม 2 ระดับคือ ข้อมูลของต้นทุนรวม ณ ระดับกิจกรรมสูงสุดและข้อมูลของต้นทุนรวม ณ ระดับต่ำสุดและนำมาวิเคราะห์ตามขั้นตอนดังนี้

  21. วิธีวิเคราะห์ต้นทุนรวม (ต่อ) ขั้นที่ 1 เปรียบเทียบผลต่างขางต้นทุนรวมและระดับกิจกรรมสูงสุดและต่ำสุด ขั้นที่ 2 คำนวณหาอัตราต้นทุนผันแปรต่อหน่วยโดยใช้สูตร ขั้นที่ 3 คำนวณหาต้นทุนคงที่โดยใช้สูตร ต้นทุนที่กิจกรรมสูงสุด – ต้นทุนที่กิจกรรมต่ำสุด กิจกรรมสูงสุด – กิจกรรมต่ำสุด ต้นทุนคงที่ = ต้นทุนรวม - ต้นทุนผันแปรรวม

  22. ตัวอย่างที่ 1 บริษัท ปองคุณ จำกัด มีข้อมูลเกี่ยวกับชั่วโมงเครื่องจักร และต้นทุนการผลิตรวมตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนกรกฎาคม ดังนี้

  23. จากข้อมูลข้างต้นคำนวณหาต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ได้ ดังนี้ ขั้นที่ 1 เดือนที่กิจกรรมสูงสุด คือ เดือนมิถุนายน ส่วนเดือนที่กิจกรรมต่ำสุด คือ เดือน มีนาคม

  24. จากข้อมูลข้างต้นคำนวณหาต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ได้ ดังนี้ ขั้นที่ 1 เดือนที่กิจกรรมสูงสุด คือ เดือนมิถุนายน ส่วนเดือนที่กิจกรรมต่ำสุด คือ เดือน มีนาคม

  25. ขั้นที 2 การคำนวณหาต้นทุนผันแปรต่อหน่วยมีดังนี้ อัตราต้นทุนผันแปรต่อหน่วย =การเปลี่ยนแปลงในต้นทุน การเปลี่ยนแปลงในกิจกรรม =ต้นทุนที่กิจกรรมสูงสุด – ต้นทุนที่กิจกรรมต่ำสุด กิจกรรมสูงสุด – กิจกรรมต่ำสุด =196,000 – 148,000 บาท 4,000 – 2,500 ชั่วโมง =48,000 บาท 1,500 ชั่วโมง = 32 บาทต่อชั่วโมงเครื่องจักร

  26. ขั้นที่ 3 อัตราต้นทุนผันแปรต่อหน่วย จากการคำนวณอัตราต้นทุนผันแปรต่อหน่วยได้เท่ากับ 32 บาท ต่อชั่วโมงเครื่องจักร การคำนวณหาต้นทุนผันแปรรวมจะใช้จุดกิจกรรมสูงสุดหรือกิจกรรมต่ำสุดก็ได้ สมมุติว่าถ้าเลือกจุดต่ำสุด ต้นทุนผันแปรรวม = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย X จำนวนชั่วโมง = 32 บาท ต่อ ชั่วโมง X 2,500 ชั่วโมง =80,000 บาท

  27. ขั้นที่ 4 ต้นทุนคงที่ การคำนวณต้นทุนคงที่มี ดังนี้ ต้นทุนรวม = ต้นทุนผันแปรรวม + ต้นทุนคงที่รวม ต้นทุนคงที่รวม = ต้นทุนรวม – ต้นทุนผันแปรรวม ต้นทุนคงที่รวม = 148,000 – 80,000 ต้นทุนคงที่รวม=68,000 บาท จากการคำนวณข้างต้นจะได้สมการต้นทุน คือ Y = a + bx

  28. สมการต้นทุนรวม Y = 68,000 + 32X

  29. เดือนสิงหาคมใช้ 4,200 ชม. Y = 68,000 + 32(4,200) Y = 68,000 + 134,400 Y = 202,400 บาท

  30. วิธีวิเคราะห์ต้นทุนรวม (ต่อ) 2. วิธีแผนภูมิกระจาย การจำแนกต้นทุนโดยวิธีนี้ แสดงโดยใช้กราฟ ให้นำค่าต้นทุนในระดับกิจกรรมต่าง ๆ ที่รวบรวมมาไปกำหนดจุดในกราฟ จากตัวอย่างที่ 1 การวิเคราะห์ตามวิธีแผนภูมิกระจายได้สมการต้นทุนรวม คือ Y = 60,000 + 35.20X

  31. วิธีวิเคราะห์ต้นทุนรวม (ต่อ) 3.วิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Simple Linear Regression) การจำแนกต้นทุนตามวิธีนี้ จะมีลักษณะคล้ายกับวิธีแผนภูมิกระจาย แต่จะแตกต่างกันตรงที่เส้นตรงที่จะลากผ่านจุดต่าง ๆ เป็นเส้นตรงที่ได้มาจากการคำนวณ และจากการวิเคราะห์ตามหลักคณิตศาสตร์จะได้สูตรในการคำนวณหาต้นทุนผันแปรต่อหน่วยและต้นทุนคงที่ได้ดังนี้

  32. สูตรในการคำนวณ a = Y - bX (ต้นทุนคงที่) n b = nXY - XY (ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย) nX2 - (X)2

  33. จากตัวอย่างเดิมของบริษัท ปองคุณ จำกัด นำมาจำแนกเป็นต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร โดยมีขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 คำนวณ x ,y ,xy และ x2 ดังนี้

  34. ขั้นที 2 จากข้อมูลข้างต้นนำไปใส่สูตรเพื่อหาค่า b ดังนี้ b = nXY - XY (ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย) nX2 - (X)2 b = 7(3,880,800,000) - (22,850)(1,174,000 ) 7(76,187,500) - (22,850)( (22,850) b = 339,700,000 111,900,000 b = 30.35746202 b = 30.36

  35. ขั้นที่ 3 คำนวณผลที่ได้จากขั้นที่ 1 และ 2 มาคำนวณในสูตรเพิ่มหาค่า a a = Y - bX (ต้นทุนคงที่) n a = 1,174,000 – 30.36(22,850) 7 a = 68,610.57 บาท

  36. สมการต้นทุนรวม Y = 68,610.57 + 30.36X

  37. สรุปสมการต้นทุนรวมทั้ง 3 วิธี วิธี สูง-ต่ำ Y = 68,000 + 32X วิธี แผนภูมิ Y = 60,000 + 35.20X วิธี สมการถดถอย Y = 68,610.57 + 30.36X

  38. แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 ข้อ 1 กรณีไม่มีปัจจัยอื่นมาเกี่ยวข้อง ข้อ 2 กรณีมีปัจจัยอื่นมาเกี่ยวข้อง

  39. ข้อ 1 วิธีวิเคราะห์ตามกิจกรรมสูงต่ำ b/น =ต้นทุนที่กิจกรรมสูงสุด – ต้นทุนที่กิจกรรมต่ำสุด กิจกรรมสูงสุด – กิจกรรมต่ำสุด b/น =33 – 15=18=2 บาท 12– 3 9 นำ b/น แทน ณ จุดกิจกรรมต่ำสุด a =ต้นทุนรวม - ต้นทุนผันแปร a = 15 - ( 3 X 2 ) =15 – 6 =9 บาท สมการต้นทุนรวม Y = 9,000 + 2,000X

  40. ข้อ 1 วิธีวิเคราะห์ตามกิจกรรมสูงต่ำ b/น =ต้นทุนที่กิจกรรมสูงสุด – ต้นทุนที่กิจกรรมต่ำสุด กิจกรรมสูงสุด – กิจกรรมต่ำสุด b/น =33 – 15=18=2 บาท 12– 3 9 นำ b/น แทน ณ จุดกิจกรรมสูงสุด a =ต้นทุนรวม - ต้นทุนผันแปร a = 33 - ( 12 X 2 ) =33 – 24 =9 บาท สมการต้นทุนรวม Y = 9,000 + 2,000X

  41. ข้อ 1 วิธีวิเคราะห์กำลังสองน้อยที่สุด จากข้อมูลสรุปได้ดังนี้ X= 50 Y= 163 XY= 1,266 X2= 408 n = 7

  42. ขั้นที 2จากข้อมูลข้างต้นนำไปใส่สูตรเพื่อหาค่า b/นและ a ดังนี้ b/น = nXY - XY nX2 - (X)2 b/น = 7(1,266) - [(50)(163)]= 712 =2 7(408) - [(50)(50)] 356 a = Y - bX = 163 – 2(50) = 9 n 7 สมการต้นทุนรวม Y = 9,000 + 2,000X

  43. สมการต้นทุนรวมข้อ 1 วิธี สูง-ต่ำ Y = 9,000 + 2,000X วิธีกำลังสองน้อยที่สุด Y = 9,000 + 2,000X

  44. ข้อ 2 วิธีวิเคราะห์ตามกิจกรรมสูงต่ำ b/น =ต้นทุนที่กิจกรรมสูงสุด – ต้นทุนที่กิจกรรมต่ำสุด กิจกรรมสูงสุด – กิจกรรมต่ำสุด b/น =32 – 20=12=1.33 บาท 12– 3 9 OR นำ b/น แทน ณ จุดกิจกรรมต่ำสุด a =ต้นทุนรวม - ต้นทุนผันแปร a = 20 - ( 3 X 1.33) =20 – 3.99 =16.01 บาท สมการต้นทุนรวม Y = 16,010 + 1,330X

  45. ข้อ 2 วิธีวิเคราะห์ตามกิจกรรมสูงต่ำ b/น =ต้นทุนที่กิจกรรมสูงสุด – ต้นทุนที่กิจกรรมต่ำสุด กิจกรรมสูงสุด – กิจกรรมต่ำสุด b/น =32 – 20=12=1.33 บาท 12– 3 9 นำ b/น แทน ณ จุดกิจกรรมสูงสุด a =ต้นทุนรวม - ต้นทุนผันแปร a = 32 - (12 X 1.33) = 32 – 15.96 =16.04 บาท สมการต้นทุนรวม Y = 16,040 + 1,330X

  46. ข้อ 2 วิธีวิเคราะห์กำลังสองน้อยที่สุด จากข้อมูลสรุปได้ดังนี้ X= 50 Y= 169 XY= 1,291 X2= 408 n = 7

  47. ขั้นที 2จากข้อมูลข้างต้นนำไปใส่สูตรเพื่อหาค่า b/นและ a ดังนี้ b/น = nXY - XY nX2 - (X)2 b/น = 7(1,291) - [(50)(169)]= 587 = 1.65 7(408) - [(50)( (50)] 356 a = Y - bX = 169 – 1.65(50) =12.36 n 7 สมการต้นทุนรวม Y = 12,360 + 1,650X

  48. สมการต้นทุนรวมข้อ 2 วิธี สูง-ต่ำ Y = 16,010 + 1,330X หรือ Y = 16,040 + 1,330X วิธีกำลังสองน้อยที่สุด Y = 12,360 + 1,650X

  49. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-even Point Analysis) การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนเป็นเทคนิคการวางแผนการลงทุนที่วิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ของต้นทุนคงที่ ต้นทุนผันแปรและกำไรของกิจการ ซึ่งวิธีวิเคราะห์จุดคุ้มทุนสามารถทำได้ 3 วิธี คือ

  50. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (ต่อ) วิธีวิเคราะห์จุดคุ้มทุนสามารถทำได้ 3 วิธี คือ • 1.การคำนวณหาจุดคุ้มทุนโดยใช้สมการ • 2. การคำนวณหาจุดคุ้มทุนโดยใช้กราฟ • 3. การคำนวณหาจุดคุ้มทุนโดยใช้กำไร • ส่วนเกิน

More Related