1 / 31

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน. รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์...มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. ขอบเขตการบรรยาย/กิจกรรม. ที่มาของมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน. เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก. แนวปฏิบัติในการกำหนดมาตรฐาน/เกณฑ์ประเมิน คุณภาพภายใน.

toviel
Download Presentation

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์...มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3

  2. ขอบเขตการบรรยาย/กิจกรรมขอบเขตการบรรยาย/กิจกรรม ที่มาของมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก แนวปฏิบัติในการกำหนดมาตรฐาน/เกณฑ์ประเมิน คุณภาพภายใน มาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน คืออะไร สำคัญอย่างไร

  3. 1 มาตรฐาน/เกณ์การประเมิน คืออะไร สำคัญอย่างไร

  4. มาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน..มีขอบเขต ดังนี้ • คือ...มิติ หรือรายการคุณภาพที่ถูกกำหนดขึ้น เพื่อการพัฒนา ตรวจสอบและประเมินผล ปรากฏในรูป • มาตรฐาน/องค์ประกอบ (ตัวบ่งชี้หลัก) • ตัวบ่งชี้รอง/ตัวบ่งชี้ย่อย) • คือ....เกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การตัดสินคุณภาพหรือการให้ระดับคุณภาพ

  5. ความสำคัญของมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมินความสำคัญของมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน เป็นกรอบแนวทางเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา เป็นกรอบเพื่อการติดตาม ประเมินผล หรือควบคุมคุณภาพของหน่วยงานต้นสังกัด เป็นกรอบเพื่อการตรวจสอบและประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นกรอบเพื่อการประเมินผลภายนอกผล โดยองค์กรภายนอกที่มีหน้าที่รับรองมาตรฐาน

  6. 2 การกำหนดมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมินที่ดี คืออย่างไร

  7. ที่มาของมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมินที่มาของมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน พ.ร.บ.การศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ แนวปฏิรูปการศึกษาระยะ 10 ปี หลักสูตรแกนกลาง/สูตรสถานศึกษา เกณฑ์ประเมิน ภายนอก มาตรฐาน/เกณฑ์ประเมินภายใน ศธ. มาตรฐาน/เกณฑ์ประเมินภายในสถานศึกษา เป็นรายการคุณภาพที่สังคมคาดหวัง ที่สอดคล้องกัน อย่างเป็นลำดับชั้น

  8. กฏกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ข้อ 38 กำหนดให้ สมศ.ทำการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมในเรื่องหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1) มาตรฐานว่าด้วยผลการจัดการศึกษาแต่ละระดับ/แต่ละประเภทการศึกษา 2)มาตรฐานว่าด้วยการบริหารจัดการสถานศึกษา 3)มาตรฐานว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และ 4) มาตรฐานว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน

  9. มาตรฐาน/เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกในการประเมินภายนอกรอบที่ 3ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  10. ทะยานสู่เป้าหมาย กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี(10) 2. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ (10) 3. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง (10) 4. ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น (10) 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน(20) 6. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (10) 7. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา(5) 8. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด(5)

  11. กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 9. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา(5) 10. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา(5) ทะยานสู่เป้าหมาย

  12. กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริมกลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 11. ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา(5) 12. ผลการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา(5) ทะยานสู่เป้าหมาย

  13. มาตรฐาน/เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกในการประเมินภายนอกรอบที่ 3ระดับการศึกษาปฐมวัย

  14. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย(5) 2. เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย(5) 3. เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย(5) 4. เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย(10) 5. เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป(10)

  15. 6. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (35) 7. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา(15) 8. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด(5)

  16. ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 9. ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา(2.5) 10. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา(2.5)

  17. ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริมตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 11. ผลการดำเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา(2.5) 12. ผลการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา(2.5)

  18. คำอธิบายเพิ่มเติม ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ หมายถึง ลักษณะพิเศษของประเภท/กลุ่มโรงเรียน/โรงเรียน ที่แสดงให้เห็นความแตกต่างของประเภท/กลุ่มโรงเรียน/โรงเรียนเพื่อเป็นข้อมูลสาธารณะให้ผู้ปกครองและนักเรียน ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม คือ มาตรการที่นำมาปรับปรุงและพัฒนาเพื่อมุ่งไปสู่สถานศึกษาที่มีคุณภาพ ทะยานสู่เป้าหมาย

  19. 3 เราจะกำหนด เกณ์ประเมินภายใน....อย่างไร

  20. แนวปฏิบัติในการกำหนดเกณฑ์ประเมินผลภายในแนวปฏิบัติในการกำหนดเกณฑ์ประเมินผลภายใน ทะยานสู่เป้าหมาย

  21. แนวปฏิบัติในการวางแผน/กำหนดเกณฑ์ประเมินผลภายในแนวปฏิบัติในการวางแผน/กำหนดเกณฑ์ประเมินผลภายใน • การกำหนดจำนวนมาตรฐาน/องค์ประกอบ หรือตัวบ่งชี้หลัก • ตัวบ่งชี้รอง/ตัวบ่งชี้ย่อย • ใช้มาตรฐานใหม่(15 มาตรฐาน-ยังไม่เสร็จ) • ใช้มาตรฐานเดิม(18 มาตรฐาน) • ใช้มาตรฐานเดิม(18 มาตรฐาน) + 2 มาตรฐาน ( 2 มาตรฐาน คือ อัตลักษณ์ และ มาตรการส่งเสริม)

  22. การวางแผน/กำหนดเกณฑ์ประเมินภายใน(ต่อ)การวางแผน/กำหนดเกณฑ์ประเมินภายใน(ต่อ) • การเลือกรายการคุณภาพที่เป็นอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ของสถานศึกษา(ควรดำเนินการอย่างไร) • การเลือกโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา....(ควรเลือกอย่างไร) • การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน • เกณฑ์เชิงปริมาณ • เกณฑ์เชิงคุณภาพ • เกณฑ์เชิงพัฒนาการ

  23. การวางแผน/กำหนดเกณฑ์การประเมินการวางแผน/กำหนดเกณฑ์การประเมิน • การจัดทำ Curriculum Mapping : เพื่อวางแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียนแบบสมบูรณ์ • Mapping โครงการกับมาตรฐานสถานศึกษาฯ • Mapping กิจกรรมแต่ละสัปดาห์ กับ มาตรฐานสถานศึกษา

  24. Achieved...บรรลุผลตามที่คาดหวัง(4)Achieved...บรรลุผลตามที่คาดหวัง(4) Achieved...บรรลุผลตามที่คาดหวัง(3) ระดับคุณภาพ รายตัวชี้วัด Attempt..ได้ดำเนินการพัฒนาด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย มีการบันทึก รวบรวมผลการพัฒนาหรือความก้าวหน้าของงาน(2) Awareness…ตระหนักรู้ เช่น รับทราบ มีการประชุม วางแผน จัดทำแผนงาน-โครงการเพื่อรองรับการพัฒนาตามตัวบ่งชี้นั้น ๆ ฯลฯ

  25. การตัดสินเชิงปริมาณ • วัดจากร้อยละของผู้เรียน • < 50...................ต้องปรับปรุง • 50-60................ควรปรับปรุง • 61-74.................พอใช้ • 75-89..................ดี • 90 ขึ้นไป.............ดีมาก • วัดจากร้อยละของครู

  26. การตัดสินเชิงคุณภาพ • กำหนดเงื่อนไขคุณภาพ/รายการคุณภาพผลงาน 3-10 รายการ แล้ว • ตีค่าเป็นระดับคุณภาพ(เกรด) ( 1= ต้องปรับปรุง 2= ควรปรับปรุง 3= พอใช้ 4= ดี 5= ดีมาก) • ตีค่าเป็น คะแนน (ที่ได้) (1 2 3 4 5 คะแนน)..กรณีน้ำหนัก 5 คะแนน (2 4 6 8 10 คะแนน)..กรณีน้ำหนัก 10 คะแนน (0.5 1 1.5 2 2.5 คะแนน)..กรณีน้ำหนัก 2.5 คะแนน

  27. การตัดสินเชิงพัฒนาการการตัดสินเชิงพัฒนาการ • ดีขึ้น/สูงกว่า เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา • เทียบเท่า หรือคงที่ เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา • ลดลง/ต่ำลง เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา ---> แล้วตีค่าเป็น คะแนน (ที่ได้)

  28. เชิญ อภิปราย ซักถาม ทะยานสู่เป้าหมาย

  29. กิจกรรม 1: กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ให้สมาชิกแต่ละโรงเรียนร่วมกัน1) กำหนด/ระบุอัตลักษณ์ของสถานศึกษา พร้อมคำอธิบายอัตลักษณ์(อธิบายในเชิงพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรม) 2) กำหนดแนวทางการพัฒนา และแนวทางการประเมินอัตลักษณ์

  30. กิจกรรม 2 : ออกแบบโครงการพิเศษให้สมาชิกแต่ละโรงเรียนร่วมกัน1) เลือกหรือกำหนดโครงการพิเศษเพื่อเสริมบทบาทของสถานศึกษา(เป็นโครงการพัฒนาชุมชน หรือสังคมตามความพร้อมของสถานศึกษา เป็นโครงการที่ทำได้โดดเด่น) 2) กำหนดแนวทางการดำเนินงานโครงการพิเศษในรอบปี และระบุแนวทางการประเมินโครงการดังกล่าว(ประเมินผลที่เกิดกับชุมชน และ ผลที่เกิดกับนักเรียน)

  31. กิจกรรม : กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา และโครงการพิเศษเพื่อเสริมบทบาทสถานศึกษาให้สมาชิกแต่ละโรงเรียนร่วมกัน1) กำหนด/ระบุอัตลักษณ์ของสถานศึกษา(อัตลักษณ์ทั่วไป และ เอกลักษณ์) พร้อมคำอธิบายอัตลักษณ์(อธิบายในเชิงพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรม) 2) กำหนดแนวทางการพัฒนา และแนวทางการประเมินอัตลักษณ์3) เลือกโครงการพิเศษที่ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา(ควรเลือกโครงการที่เอื้อต่อการสร้างเอกลักษณ์)

More Related