260 likes | 544 Views
การลงทุนผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสีย อุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบ. ลิขิต นิ่มตระกูล บริษัท ปภพ จำกัด 26 มิถุนายน 2550. เป้าหมายโครงการ. เชิงพาณิชย์ ผลิตไฟฟ้าให้ได้มากสุด สิ่งแวดล้อมบำบัดน้ำเสียให้ได้ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม. ปัจจัยกำหนดความสำเร็จ. บุคลากรและที่ปรึกษา เทคโนโลยีที่ดี
E N D
การลงทุนผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสียอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบการลงทุนผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสียอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบ ลิขิต นิ่มตระกูลบริษัท ปภพ จำกัด26 มิถุนายน 2550
เป้าหมายโครงการ • เชิงพาณิชย์ ผลิตไฟฟ้าให้ได้มากสุด • สิ่งแวดล้อมบำบัดน้ำเสียให้ได้ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม
ปัจจัยกำหนดความสำเร็จปัจจัยกำหนดความสำเร็จ • บุคลากรและที่ปรึกษา • เทคโนโลยีที่ดี • แผนการลงทุนที่เหมาะสม • ความพร้อมในวิธีการลงทุน
1. บุคลากรและที่ปรึกษา • ด้านเทคนิค • ด้านการเงิน • ด้านบริหารจัดการ
2. เทคโนโลยีที่ดี • การผลิตก๊าซชีวภาพ • การกำจัด H2S • เครื่องกำเนิดไฟฟ้า • ระบบจำหน่ายไฟฟ้า
3.แผนการลงทุนที่เหมาะสม3.แผนการลงทุนที่เหมาะสม • ขนาดที่เหมาะสม, ค่าใช้จ่ายที่ครบถ้วน • แหล่งทุน และดอกเบี้ย • รายได้หลัก และรายได้เสริม (CDM) • สิทธิประโยชน์ทางภาษี (BOI)
4. วิธีการลงทุน • ลงทุนเอง • ร่วมลงทุนกัน ESCO • ให้สัมปทาน (BOT) ซื้อ Consult ซื้อ Turn Key
เทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ CODb + CODnd สารอินทรีย์ คาร์โบไฮเดรต, โปรตีน, ไขมัน (FOG) แป้ง, น้ำตาล, ไฟเบอร์, ลิกนิน
จำนวนก๊าซชีวภาพ แบคทีเรีย CODb 1 กก. CH4 + CO2 350 ลิตร 350 ลิตร 50% 50%
พารามิเตอร์ที่ใช้วัดประสิทธิภาพพารามิเตอร์ที่ใช้วัดประสิทธิภาพ • CODb > 1.5 – 3 BOD5
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพที่ดีระบบผลิตก๊าซชีวภาพที่ดี 1) ต้องมีระบบลดอุณภูมิ T < 40 Co 2) - ต้องสามารถแยกน้ำมันออกได้เหลือน้อยกว่า 1,500 มก./ลิตร - ต้องสามารถย่อยน้ำมันได้ทั้งหมด 3) - ต้องมีแบคทีเรีย ประสิทธิภาพสูงครบทุกชนิด - สามารถเพิ่มลดจำนวนได้ตามต้องการ 4) ต้องรักษาแบคทีเรียไว้ไม่ให้หลุดไปกับน้ำเสีย V30< 5 มล./ลิตร 5) มีประสิทธิภาพเปลี่ยน CODb เป็นก๊าซชีวภาพมากที่สุด เหลือน้อยกว่า 1,500 มก./ลิตร 6) - ผลิต CH4ได้ 330 + 5% /กก.CODb - ความเข้มข้น CH460 + 5% 7) ระบบความปลอดภัยในการใช้งาน
หน่วยผลิตก๊าซชีวภาพ น้ำเสีย AC1 AC2 + MT E = 85% UASB E = 90% CODb = 85,000 CODb = 85,000 CODb = 12,750 CODb = 1,275 CODb = 65,000 CODb = 9,750 CODb = 975
ส่วนประกอบของระบบผลิตก๊าซชีวภาพส่วนประกอบของระบบผลิตก๊าซชีวภาพ • ระบบระบายความร้อน • AC1 • AC2 + MT • บ่อพักน้ำเสีย • UASB • ระบบท่อและปั๊ม • ระบบไฟฟ้า • ระบบควบคุมอัตโนมัติ และบันทึกข้อมูล • ระบบความปลอดภัย • ห้อง LAB • อาคารควบคุม, อุปกรณ์สำนักงาน
ส่วนประกอบของระบบผลิตไฟฟ้าส่วนประกอบของระบบผลิตไฟฟ้า • ระบบกำจัด H2S และความชื้น • ระบบส่งก๊าซ • ระบบเครื่องยนต์ก๊าซและ Generator • ระบบควบคุมอัตโนมัติ และบันทึกข้อมูล • ระบบระบายความร้อน • ระบบจำหน่ายไฟฟ้าแรงสูง • ระบบสายส่งแรงสูง • ระบบเผาก๊าซสำหรับ CDM
เครื่องปั่นไฟ Flare
ส่วนสาธารณูปโภคอื่นๆ • ที่ดินและงานปรับปรุงพื้นที่ • บ้านพักพนักงาน • ยานพาหนะและเครื่องมือซ่อมบำรุง • อะไหล่สำรอง
ระบบผลิตไฟฟ้าที่ดี • ระบบกำจัด H2S (2,000 – 3,000 มก./ลิตร) • ระบบชีวภาพ กำจัด H2S เหลือ < 350 ppm. • ค่ากำจัดต่ำ < 5 สตางค์ / ม3 • ไม่มีสารเคมีที่ทำให้เครื่องยนต์เสียหาย • ระบบผลิตไฟฟ้า • เครื่องยนต์ก๊าซชีวภาพ + Generator • รับ H2S ได้ 700 ppm. • อัตราผลิตไฟฟ้า 2.35 KW/Nm3 65%CH4 • ระบบระบายความร้อนใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 3.5% ของที่ผลิตได้
เครื่องยนต์ไบโอก๊าซ + Generator
ขนาดของโรงไฟฟ้า • โรงไฟฟ้าขนาด 1 MW • ต้องการก๊าซชีวภาพ 65%CH410,000 ลบ.ม./วัน • ต้องการเดินระบบ 300 วัน/ปี • ต้องการก๊าซชีวภาพ 3,000,000 ลบ.ม./ปี • CODbจากการบีบน้ำมันปาล์ม 40-44 กก./ตัน FFB • ผลิตก๊าซชีวภาพ 65%CH417-19 ม3./ตัน FFB • ต้องมีกำลังการผลิต 165,000 – 170,000 ตัน/ปี
ผลตอบแทนการลงทุน • ผลิตไฟฟ้าได้ 40 kwh./ตัน FFB • ระบบผลิตใช้ไฟฟ้า 5% ที่ผลิตได้ • ค่าไฟฟ้า + ADDER 3 บาท/kwh. • ค่าใช้จ่ายต่างๆ 0.35 – 0.5 บาท/kwh.
การสนับสนุนจากภาครัฐ • เงินกู้ดอกเบี้ย 4% ไม่เกิน 50 ล้านบาท • BOI ให้สิทธิประโยชน์ 8 ปี หรือไม่เกินเงินลงทุน • เพิ่มค่าไฟฟ้าให้ VSPP ที่ผลิตจากไบโอก๊าซ 30 สตางค์/หน่วย