1 / 49

ความสำคัญและขอบเขตของการจัดทำ ข้อมูลความปลอดภัย (SDS)

ความสำคัญและขอบเขตของการจัดทำ ข้อมูลความปลอดภัย (SDS). รศ.ดร. ชมภูศักดิ์ พูลเกษ. 1. GHS SDS. 2. SDS การนำ SDS ไปใช้เพื่อประโยชน์ต่อการนำเข้า-ส่งออก สารเคมี-วัตถุอันตราย ( UNSCEGHS) ระบบ GHS ของคณะกรรมการ UNSCEGHS

toril
Download Presentation

ความสำคัญและขอบเขตของการจัดทำ ข้อมูลความปลอดภัย (SDS)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความสำคัญและขอบเขตของการจัดทำความสำคัญและขอบเขตของการจัดทำ ข้อมูลความปลอดภัย(SDS) รศ.ดร. ชมภูศักดิ์ พูลเกษ 1

  2. GHS SDS 2

  3. SDS การนำ SDS ไปใช้เพื่อประโยชน์ต่อการนำเข้า-ส่งออก สารเคมี-วัตถุอันตราย (UNSCEGHS) ระบบ GHSของคณะกรรมการUNSCEGHS ที่พัฒนาขึ้นมา ได้ใช้ระบบการจำแนกตามสภาพความเป็น อันตราย รวมทั้งมีข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การแพทย์ และการบริหารจัดการที่เกี่ยวข้อง 3

  4. จุดมุ่งหมายในการทำ SDS เพื่อทำให้มั่นใจใน ความ ถูกต้องและแม่นยำของเนื้อหา • ดังนั้นองค์ประกอบของSDS ทั้ง 16 ชนิดจำเป็นต้อง สอดคล้องกับการจำแนกและติดฉลาก 4

  5. SDS จะต้องถูกจัดทำโดยบุคคลที่มีหน้าที่ และได้รับการมอบหมาย 5

  6. SDS จะต้องถูกนำไปใช้กับ...........พนักงาน.....นายจ้าง.... เจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพ..... เจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัย ..... สถานการณ์เหตุฉุกเฉิน.....องค์กรของรัฐบาลและ.....ประชาชน 6

  7. ภาษาที่ใช้ต้องเป็น..........ภาษาที่เข้าใจง่ายชัดเจน ถูกต้อง หลีกเลี่ยงคำเฉพาะ ชื่อย่อ คำย่อ 7

  8. วลีที่ไม่ควรใช้ ........... อาจเป็นอันตราย ........... ไม่มีผลต่อสุขภาพ ........... ปลอดภัยภายใต้การใช้ส่วนมาก ........... ไม่มีอันตราย 8

  9. SDS • ควรระบุวันที่ทำเอกสารความปลอดภัยอย่างชัดเจน • ระบุวันที่แปล • ระบุวันที่ทบทวน / ปรับปรุง 9

  10. ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีหรือสารผสมและบริษัทผู้ผลิต และ/หรือ จำหน่าย • ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย • องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม • มาตรการปฐมพยาบาล • มาตรการผจญเพลิง • มาตรการการจัดการเมื่อมีการหกและรั่วไหลของสารเคมีโดยอุบัติเหตุ • การจัดการและจัดเก็บ • การควบคุมการรับสัมผัสและการป้องกันส่วนบุคคล • คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี • ความเสถียรและการเกิดปฏิกิริยา • ข้อมูลทางด้านพิษวิทยา • ข้อมูลผลกระทบต่อระบบนิเวศ • ข้อพิจารณาในการกำจัด • ข้อมูลสำหรับการขนส่ง • ข้อมูลเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ • ข้อมูลอื่นๆ • รูปแบบของ SDS 10

  11. SDS • ความยาว ? • ความยาวของ SDS ไม่มีจำกัด ให้ขึ้นกับสภาพของอันตรายและข้อมูลนั้นๆ 11

  12. การจัดทำหน้า SDS ..........ควรระบุจำนวนหน้า เช่น • หน้า 1 จำนวน 3 หน้า • หน้าถัดไป • สิ้นสุดเอกสารความปลอกภัย 12

  13. หน่วย SDS • หน่วยที่ใช้ใน SDS ควรใช้ระบบ SI 13

  14. SI International System of Units “ Systems International ď Unites” ex : MKS , CGS Dose Unit ex. Gm/cm2 Dose Rate Unit ex. Gm/cm2/sec Temperature C & Kelvin 14

  15. SDS ส่วนที่ 1 • ผู้จัดจำหน่ายควรระบุสถานที่ที่สามารถติดต่อได้ในกรณีมีเหตุฉุกเฉิน • ควรใส่รหัสของสาร(ตามกฎหมายของแต่ละประเทศ) 15

  16. SDS ส่วนที่ 2 • เป็นส่วนที่ยากที่สุด • จะต้องจำแนกประเภทให้ถูกต้องตามระบบ HGS • ต้องมีฉลาก,คำสัญญาณ,ข้อความเป็นอันตรายและข้อควรระวัง 16

  17. SDS ส่วนที่ 3: เป็นองค์ประกอบ / ข้อมูลของสารองค์ประกอบ • ต้องมีความสอดคล้องกับส่วนที่ 2 • เฉพาะข้อมูลความลับทางสินค้าควรมีการจัดทำเป็นกรณีพิเศษ • ควรใช้ระบบชื่อ CAS ชื่อ ECหรือ ชื่อ IUPACในทางปฏิบัติ 17

  18. SDS ส่วนที่ 3:สารเจือปนและสร้างความคงตัว,สารผสม • ต้องจำแนกให้ถูกต้องและระบุลงในSDS • สำหรับสารผสมต้องจำแนกส่วนประกอบทุกชนิดในสารส่วนผสม รวมถึงองค์ประกอบที่มิได้ก่อให้เกิดอันตราย • เปอร์เซ็นต์ของสารผสมให้ใช้เป็นน้ำหนักหรือปริมาตร 18

  19. SDS ส่วนที่ 4: มาตรการปฐมพยาบาล • ควรมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ง่าย ชัดเจน ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน • ระบุเวลา อาการที่เกิดขึ้นฉับพลัน และอาการที่เกิดขึ้นแบบช้าๆ • ระบุเกี่ยวกับการดูแลทางการแพทย์ที่เป็นกรณีเฉพาะ 19

  20. SDS ส่วนที่ 5: มาตรการผจญเพลิง • ระบุสารดับเพลิงที่เหมาะสม • ระบุอันตรายที่เกิดขึ้นขณะเผาไหม้ • ระบุ PPE และข้อควรระวัง สำหรับพนักงานดับเพลิง 20

  21. SDS ส่วนที่ 6: มาตรการการจัดการเมื่อมีการหกและรั่วไหล ของสารโดยอุบัติเหตุ • ข้อควรระวังส่วนบุคคล • อุปกรณ์ป้องกัน • ขั้นตอนการปฏิบัติ • ข้อควรระวังด้านสิ่งแวดล้อม • วิธีกักเก็บและทำความสะอาด 21

  22. SDS ส่วนที่ 7: ข้อควรระวังสำหรับการเคลื่อนย้ายอย่างปลอดภัย • การจัดเก็บ ต้องมีมาตรฐานในการจัดเก็บ • ต้องระบุขั้นตอนวิธีการเคลื่อนย้ายที่ปลอดภัย • หลีกเลี่ยงความเสี่ยง 6 ประเภท • ควบคุมความเสี่ยง 6 ประเภท • รักษาความเสถียร 2 ลักษณะ • เทคนิคเสริม 4 แบบ 22

  23. หลีกเลี่ยงความเสี่ยง 6 ประเภท • การเกิดบรรยากาศที่ระเบิด • สภาพการเกิดกัดกร่อน • อันตรายจากความไวไฟ • สารหรือของผสมที่เข้ากันไม่ได้ • สภาพที่ทำให้เกิดการระเหยกลายเป็นไอน้ำ • แหล่งกำเนิดประกายไฟ 23

  24. ควบคุมความเสี่ยง 6 ประเภท • สภาพอากาศ • ความดันบรรยากาศ • อุณหภูมิ • แสงอาทิตย์ • ความชื้น • การสั่นสะเทือน 24

  25. รักษาความเสถียร 2 ลักษณะ • ตัวทำให้เสถียร • สารป้องกันการออกซิแดนท์ 25

  26. เทคนิคเสริม 4 แบบ • การระบายอากาศ • การออกแบบเฉพาะสำหรับห้องเก็บ/ภาชนะบรรจุ • การจำกัดปริมาณ การจัดเก็บ • ความเข้ากันได้ของบรรจุภัณฑ์ 26

  27. SDS ส่วนที่ 8: การควบคุมการรับสัมผัสและป้องกันส่วนบุคคล • TLV • BLV (BEI) • Exposure Control • เน้น Engineering Control และ Personal Control 27

  28. SDS ส่วนที่ 9: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี • ให้สอดคล้องกับจำแนกประเภทตามกายภาพและสุขภาพ/สิ่งแวดล้อม 28

  29. SDS ส่วนที่ 10: ความเสถียรทางเคมี (Chemical Stability ) และความไวต่อปฏิกิริยา (Reactivity) • ความเป็นไปได้ในการเกิดปฏิกิริยาอันตราย • สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง • วัสดุที่เข้ากันไม่ได้ • เกิดการแตกตัวเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย 29

  30. SDS ส่วนที่ 11:ข้อมูลด้านพิษวิทยา • ให้จำแนกตามระบบ GHS ซึ่งระบุไว้ 10 ประเภท • คำพูด ข้อเขียน วลี จะต้องใช้อย่างระมัดระวัง • ไม่ให้ข้อมูลในเชิงลบ เช่น การกล่าวว่า “ การศึกษาการเป็นมะเร็งในหนู พบว่าไม่มีการเพิ่มขึ้นที่เป็นนัยสำคัญกับอุบัติการณ์ของมะเร็ง” • ระบุเส้นทางที่อาจได้รับหรือสัมผัสเพิ่มขึ้น เช่นระบบย่อยอาหาร ตาและ ผิวหนัง เป็นต้น 30

  31. SDS ส่วนที่ 11:ข้อมูลด้านพิษวิทยา(ต่อ) • อธิบายอาการที่มีผลต่ำสุดจนถึงผลสูงสุด • คำนวณค่าความเป็นพิษเฉียบพลัน • ผลจากปฏิกิริยา • ความเป็นพิษของสารผสมต้องให้ข้อมูลด้านเป็นพิษของ องค์ประกอบของแต่ละตัว 31

  32. SDS ส่วนที่ 12: ข้อมูลผลกระทบต่อระบบนิเวศนวิทยา • การสะสมทางชีวภาพ • ความคงอยู่นาน • ความสามารถในการย่อยสลาย • ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม(สิ่งมีชีวิตในน้ำ) 32

  33. SDS ส่วนที่ 13: ข้อพิจารณาในการกำจัดของเสีย • วิธีการกำจัด • การกลับนำไปใช้ใหม่ 33

  34. SDS ส่วนที่ 14: ข้อมูลการขนส่ง • ให้เป็นไปตามมาตรฐานการขนส่ง เช่น การลงทะเบียน , การบรรจุ,ขั้นตอนการขนส่งทั้งทางบก,ทางน้ำและทางอากาศ 34

  35. SDS ส่วนที่ 15: ข้อมูลทางด้านกฏระเบียบข้อบังคับ • กฎระเบียบด้านความปลอดภัย • กฏระเบียบด้านสุขภาพ. • กฏระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม 35

  36. SDS ส่วนที่ 16: ข้อมูลอื่นๆ • วันที่ปรับปรุง แก้ไข แปล เปลี่ยนแปลง • อธิบายคำย่อ • เอกสารอ้างอิง 36

  37. SDS ควรจัดให้มีที่ครอบคลุมเกี่ยวกับสารหรือของผสมเคมีเพื่อใช้แนวทางตามกฏหมายในการควบคุมสารเคมีในสถานประกอบการ (Workplace chemical control regulatory frameworks)ทั้งผู้ว่าจ้างและผู้ปฏิบัติงานใช้ข้อมูลดังกล่าวเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นอันตราย ซึ่งรวมถึงความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับมาตรการด้านความปลอดภัย (Safety precautions) 37

  38. SDS ยังจัดให้มีแหล่งสำคัญของข้อมูลสำหรับกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง(target audiences) อื่นๆในระบบ GHS ข้อมูลบางส่วนอาจนำไปใช้โดยผู้มีส่วนเกี่ยข้องกับการขนส่งสินค้าอันตราย ผุ้ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน(รวมถึงศูนย์พิษวิทยา; poison centres 38

  39. SDSการผลิตขึ้นมาให้ครอบคลุมสารและของผสมซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ทำให้เป็นระบบเดียวสำหรับความเป็นอันตรายทางกายภาพ ต่อสุขภาพหรือต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้ระบบGHS และสำหรับของผสมทั้งหมดที่ประกอบด้วยสารซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์สำหรับสารก่อมะเร็ง(carcinogenic)เป็นพิษต่อการสืบพันธุ์(toxic to reproduction)หรือเป็นพิษกับระบบอวัยวะเป้าหมาย (target organ systemic toxicity)ในความเข้มข้นเกินกว่าค่าจุดตัด(cut-off limits) 39

  40. ค่าจุดตัด(cut-off limits values)/ค่าจำกัดความเข้มข้น(concentration limits) สำหรับประเภทความเป็นอันตรายต่อสุขภาพละต่อสิ่งแวดล้อม 40

  41. SDS จะสำเร็จได้อย่างไร ? • Authorized Body • Institution / Lab for testing • Bridging Net Work • Education 41

  42. GHS 2008 • Classify • Label • HCS • SDS • Training 42

  43. Competency Having the gualifications or capaility to perform some task. “ความมีคุณสมบัติ หรือความสามารถที่จะปฏิบัติงาน” 43

  44. “คุณสมบัติทางสมรรถนะงาน “ “Work Competency” 44

  45. Standard of Competency มาตรฐานทางคุณสมบัติ ด้านความสามารถ 45

  46. One professional has to define itself..... for Competence คุณสมบัติด้านความสามารถจะต้องได้รับการให้คำนิยาม และขอบเขตของแต่ละวิชาชีพ 46

  47. Function of competencyอย่างน้อยประกอบด้วย เนื้องานที่ทำ (Task) ความรู้ (knowledge) ความเก่ง/ชำนาญ (skill) 47

  48. Competence Authority “ผู้มีอำนาจในการแต่งตั้ง คุณสมบัติทางความสามารถ” 48

  49. Competency Process 49

More Related