240 likes | 456 Views
กรอบการติดตามประเมินผล “โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง”. CHARNCHAI PINMUANG-NGAM MD,MHS Director Of HPC 8. 1. วัตถุประสงค์. เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค ตลอดจนผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ตามความจริง. เพื่อวิเคราะห์ ศักยภาพ การดำเนินงานของจังหวัดและหน่วยปฏิบัติ
E N D
กรอบการติดตามประเมินผล “โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” CHARNCHAI PINMUANG-NGAM MD,MHS Director Of HPC 8
1 วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค ตลอดจนผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามความจริง เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพการดำเนินงานของจังหวัดและหน่วยปฏิบัติ ความจำเป็นต่อการพัฒนาและปัญหาอุปสรรคในพื้นที่ 2 5
การติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพต้องมีการวางแผนที่ดีการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพต้องมีการวางแผนที่ดี • ควรมีการวางแผนร่วมกันของทีมก่อนออกประเมิน • ศึกษาโครงการที่จะออกประเมิน • กำหนดหัวข้อประเมิน (พิจารณาจาก Project Cycle )
B C A D E F Framework for M&E of the Project Implementation Process Built-In M&E Monitor Evaluation Project Preparation Input Implementation Out put Out come Impacts Design New project External M&E
A Project Preparation • การวิเคราะห์สภาพปัญหา 1.1 การประเมินสถานการณ์และวิเคราะห์ข้อมูลระบาดวิทยา เช่น (ตัวอย่าง)
(ตัวอย่าง) ตัวชี้วัดที่มีการเฝ้าระวัง ติดตามกำกับที่มีในปัจจุบัน (โรคไม่ติดต่อ)
(ตัวอย่าง) 1.2 การวิเคราะห์สาเหตุและข้อมูลพฤติกรรม ตัวชี้วัดที่มีการเฝ้าระวัง ติดตาม กำกับที่มีในปัจจุบัน (พฤติกรรมเสี่ยง)
1.3 การนำข้อมูลอื่นในระบบมาใช้ประโยชน์ - ข้อมูลเฝ้าระวังสถานะสุขภาพระดับจังหวัด , เขต - นโยบายสุขภาพระดับจังหวัด - ข้อมูลการสำรวจปัจจัยกำหนดทางเศรษฐกิจ , สังคม และ สิ่งแวดล้อมระดับพื้นที่ - โครงสร้างประชากร- ปัจจัยเอื้อต่อพฤติกรรมสุขภาพที่ดี เช่น สถานที่ออกกำลังกาย นโยบายปลูกผักปลอดสารพิษ - การประเมินภาวะเครียดและซึมเศร้า ในกลุ่มเสี่ยงและป่วย
2.1 การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการทำแผน- การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา- การกำหนดเป้าหมายร่วม- การบูรณาการแผนและงบประมาณ- ระบุกลไกการทำงานร่วมกัน 2. การจัดทำยุทธศาสตร์และแผนงาน
2.2 การแยกแยะกลุ่มเป้าหมายและจัดลำดับความสำคัญของปัญหา - การจำแนกตามกลุ่มระดับสุขภาพ เช่น กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย - การจำแนกตามกลุ่มอายุ เช่น วัยเรียน วัยทำงาน วัยสูงอายุ - การจำแนกตาม Setting เช่น โรงเรียน สถานประกอบการ - การจำแนกตามพื้นที่ เช่น ระดับอำเภอ เขต เมือง และชนบท - การจำแนกตามปัจจัยเสี่ยง เช่น อาหารเสี่ยงต่อสุขภาพ กลุ่มออกกำลังกายน้อย , กลุ่มอ้วน,กลุ่มบริโภคยาสูบ และแอลกอฮอล์
ความสัมพันธ์ของปัจจัยเสี่ยงกับโรคไม่ติดต่อที่พบบ่อยความสัมพันธ์ของปัจจัยเสี่ยงกับโรคไม่ติดต่อที่พบบ่อย (ตัวอย่าง)
2.3 มาตรการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
B C Input + Implementation 3. การนำแผนสู่การปฏิบัติ 3.1 บทเรียนการดำเนินงานที่ผ่านมา หรือมีการศึกษาวิจัย ที่เชื่อถือได้ เช่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน อาหารที่ดีต่อสุขภาพ และออกกำลังกายสม่ำเสมอจะ สามารถป้องกันเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้ร้อยละ 80 (WHO) 3.2 การปฏิบัติที่แตกเป็นกิจกรรมของโครงการ
(ตัวอย่าง) เช่น โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการ
3.3 มุมมองและความเข้าใจต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ของผู้ปฏิบัติ ประเมินโดย - การสัมภาษณ์ - ดูผลการวางแผนร่วมของภาคีในระดับพื้นที่ - ศึกษาการบริหารงบประมาณจากภาคีต่าง ๆ
D Out putand Indicators 3.4 ประเมินผลผลิตหรือผลลัพธ์เปรียบเทียบกับเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ ของโครงการ - ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง เป็นโรคเบาหวานไม่เกินร้อยละ 5 - อัตราการเข้ารับรักษาตัว ในโรงพยาบาลลดลงร้อยละ 3 - อัตราการประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น
3.5 ปัญหา อุปสรรคของการปฏิบัติ - มีระยะเวลาในการทบทวนโครงการอย่างไร - มีการติดตามความก้าวหน้าเป็นระยะ - มีผลสรุปปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข 3.6 การมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและภาคประชาชน - ภาคีเครือข่ายร่วมจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของชุมชม - มีแผนสุขภาพชุมชนและแผนยุทธศาสตร์จังหวัด - มีการคืนข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์ให้กับท้องถิ่น - มีการบูรณาการทรัพยากรจากภาคส่วนต่าง ๆ
E Impacts ผลลัพธ์ ระยะสั้น - ร้อยละของประชากรตระหนักถึงประโยชน์ของ การรับประทานผักผลไม้ต่อสุขภาพ ระยะกลาง - ร้อยละของผู้ที่มีภาวะอ้วน น้ำหนักลดลง - ร้อยละของผู้ใหญ่ที่มาภาวะความดันโลหิตสูง
F Design New project • การวิเคราะห์ผลผลิตของโครงการ- การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคระหว่างดำเนินโครงการ- การกำหนดเป้าหมายโครงการใหม่- การกำหนดกลยุทธ์ใหม่
(ตัวอย่าง) กรอบแนวทางในการประเมินความก้าวหน้าโครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
(ตัวอย่าง) กรอบแนวทางในการประเมินความก้าวหน้าโครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
(ตัวอย่าง) กรอบแนวทางในการประเมินความก้าวหน้าโครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ