380 likes | 690 Views
รายวิชา IS 204420 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 “ การจัดทำแบบทดสอบ ” “ การพัฒนาสื่อ ”. 1. การจัดทำแบบทดสอบ. 1.1 วัตถุประสงค์ของการวัดผล 1.2 ประเภทของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.3 รูปแบบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.4 ประเภทของแบบทดสอบ 1.5 คุณสมบัติของแบบทดสอบ
E N D
รายวิชา IS 204420 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 “การจัดทำแบบทดสอบ” “การพัฒนาสื่อ”
1. การจัดทำแบบทดสอบ 1.1 วัตถุประสงค์ของการวัดผล 1.2 ประเภทของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.3 รูปแบบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.4 ประเภทของแบบทดสอบ 1.5 คุณสมบัติของแบบทดสอบ 1.6 การสร้างและวิเคราะห์แบบทดสอบ
1.1 วัตถุประสงค์ของการวัดผล • เพื่อให้รู้ค่านิยมของบุคคล ประเมินสถานการณ์ • เพื่อดูระดับการเรียนรู้ • วัตถุประสงค์สำคัญของ ISD คือการประเมินผลสัมฤทธิ์ • ทางการเรียน การปฏิบัติงาน และการเปลี่ยนแปลง • ทัศนคติ
1.2 ประเภทของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement Tests) 1.2.1 Criterion - referenced Tests - CRTs 1.2.2 Norm - referenced Tests - NRTs
Criterion - referenced Tests - CRTs • Criterion - referenced test อาจเรียกว่า Content - • referenced test หรือ Objective - referenced test • เป็นแบบทดสอบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัดความรู้ความสามารถ • ของผู้เรียนกับระดับความรู้ความสามารถที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐาน • คะแนนที่ได้รับจาก CRT บอกให้ทราบว่าผู้เรียนมีความรู้ความ • สามารถสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่กำหนดหรือไม่
Criterion - referenced Tests - CRTs ต่อ • คะแนนที่กำหนดใน CRT ในระดับที่ถือว่าประสบความสำเร็จ • หมายความว่าผู้เรียนมีความรู้ดี หรือมีความสามารถที่จะดำเนิน • กิจกรรมที่กำหนด • CRT ใช้ในการวัดประสิทธิภาพสื่อการสอน • ในกรณีที่ผู้เรียนจำนวนมากได้คะแนนใน CRT ไม่อยู่ในระดับ • ที่ถือว่าประสบความสำเร็จ อาจหมายความว่าสื่อการสอนที่ผลิต • มีข้อบกพร่อง ต้องปรับปรุงแก้ไขใหม่
Norm - referenced Tests - NRTs • เป็นแบบทดสอบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัดความรู้ความ • สามารถของผู้เรียนคนหนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับระดับความรู้ • ความสามารถของผู้เรียนคนอื่นๆ ในกลุ่มอย่างไร • วัตถุประสงค์หลักของ NRT คือการคัดเลือกผู้มีความรู้ความ • สามารถสูงสุดในบรรดาผู้ที่ได้รับการทดสอบในคราวเดียวกัน • คะแนนใน NRT ไม่ได้ให้ข้อมูลว่าผู้เรียนมีความรู้ความ • สามารถในเนื้อหาหรือกิจกรรมที่กำหนดในระดับใด
1.3 รูปแบบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.3.1 การประเมินผลก่อนการเรียน (Pre - assessments) 1.3.2 การประเมินผลระหว่างเรียน (Embedded Items) 1.3.3 การประเมินผลหลังการเรียน (Post - assessments)
1.4 ประเภทของแบบทดสอบ 1.4.1 แบบทดสอบความรู้ (Cognitive Tests) 1.4.2 แบบทดสอบความสามารถ (Performance Tests)
แบบทดสอบความรู้ (Cognitive Tests) • ใช้เมื่อต้องการวัดว่าผู้เรียนมีความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง • การวัดความรู้สามารถวัดได้โดยการให้ผู้เรียนแก้ปัญหา • หรือนำกฎไปปรับใช้ • ลักษณะของแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ได้แก่ multiple • choice, true - false, fill - in, matching, short • answer, essay
แบบทดสอบความสามารถ (Performance Tests) • ใช้เมื่อต้องการวัดว่าผู้เรียนมีความสามารถในการปฏิบัติ • กิจกรรมหนึ่ง ๆ • การวัด Performance อาจดูได้จาก Procedures • (Process) Products และ Portfolios • ถ้า OUTPUT ใน INPUT/ACTION/OUTPUT Diagram • เป็นกระบวนการหรือวิธีการ แบบทดสอบต้องวัดในเรื่องของ • กระบวนการ • ถ้า OUTPUT เป็นผลงาน การทดสอบอาจใช้วิธีการ • เปรียบเทียบกับผลงานที่เป็นมาตรฐาน
1.5 คุณสมบัติของแบบทดสอบ 1.5.1 มีความเที่ยงตรง (Validity) 1.5.2 มีความน่าเชื่อถือ (Reliability)
ความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือของแบบทดสอบความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือของแบบทดสอบ • ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึงแบบทดสอบนั้นวัดสิ่งที่ • ต้องการจะวัด ที่สำคัญคือ ความเที่ยงตรงของเนื้อหา • (Content Validity) แบบทดสอบไม่ควรวัดสิ่งที่ไม่ • เกี่ยวข้อง • ความน่าเชื่อถือ (Reliability) หมายถึงความคงที่ของแบบ • ทดสอบ เมื่อใช้วัดผู้เรียนกลุ่มเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง • แบบทดสอบที่ดีต้องมีคุณสมบัติ 2 ประการคือ ความ • เที่ยงตรง (Validity) และความน่าเชื่อถือ (Reliability)
ความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือของแบบทดสอบ ต่อ • วิธีการเพิ่มความน่าเชื่อถือของแบบทดสอบทำได้โดยการ • ถามคำถามเดียวกันในลักษณะต่าง ๆ • ผู้เรียนที่ตอบคำถามหลาย ๆ ข้อที่ถามในเรื่องเดียวกันได้ • ถูกต้องเป็นจำนวนหลายข้อ อาจหมายความว่าผู้เรียนนั้น • มีความรู้ดีกว่าผู้ตอบถูกเพียงข้อเดียวหรือ 2 ข้อ
1.6 การสร้างและวิเคราะห์แบบทดสอบ 1.6.1 Task / Objective / Criterion Charts 1.6.2 Table of Specification 1.6.3 Error Matrices
1.6.1 การเขียน Task / Objective / Criterion Chart • Task หมายถึงงานที่กำหนดใน Task Inventory • Objective หมายถึงวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่เขียนอยู่ • ในรูป TPO/EO • Criterion หมายถึงข้อกำหนดที่ระบุให้ผู้เรียนมีพฤติกรรม • ตามที่กำหนดไว้ใน Objective • ข้อมูลใน Task / Objective / Criterion Chart จะถูก • นำไปใช้ในการสร้างและวิเคราะห์แบบทดสอบต่อไป
ตัวอย่าง : Task / Objective / Criterion Chart Task Objective Criterion (TPO/EO) - ซื้อเครื่องปรุง เมื่อให้ชื่อปลา 4 ชนิดที่แตกต่างกันในบรรดาชื่อปลา 4 อาจารย์ชาวต่างชาติใน มทส สามารถ ชื่อ ได้แก่ ปลาช่อน บอกชื่อปลาที่ดีที่สุดสำหรับใช้ทำทอด ปลาดุก ปลากราย มันปลาได้ และปลากระพง อาจารย์ ชาวต่างชาติ ใน มทส สามารถ ระบุชื่อปลากรายว่า เป็นปลาที่ดีที่สุดใน การทำทอดมันปลา
1.6.2 การเขียน Table of Specifications • วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้รับการประเมินทุกข้อ • วัตถุประสงค์แต่ละข้อควรประเมินในลักษณะใด • วัตถุประสงค์แต่ละข้อควรใช้แบบทดสอบชนิดใด • ข้อมูลที่ระบุในตารางนำมาจาก Task / Objective / • Criterion Chart
ตัวอย่าง : Table of Specifications เนื้อหา รู้กฎเกณฑ์ ปรับใช้ รวม หมายเหตุ กฎเกณฑ์ 1. ซื้อเครื่องปรุง 2 - 2 Multiple Choice 2. หั่นเครื่องปรุง - 2 2 Checklist 3. ผสมเครื่องปรุง - 1 1 Checklist 4. เลือกกะทะ - 1 1 Multiple Choice 5. ใส่น้ำมันในกะทะ - 1 1 Multiple Choice 6. ปั้นส่วนผสม - 1 1 Checklist 7. ทอดส่วนผสม - 1 1 Checklist รวม 2 7 9
ตัวอย่างแบบทดสอบ คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ภาพนี้ เป็นภาพของอาหารในหมู่ใด ก. คาร์โบไฮเดรท ข. เกลือแร่ ค. ไขมัน ง. โปรตีน
คำสั่ง จงเรียงลำดับขั้นตอนการปรุงน้ำพริกเผาเห็ดหอมโดย ใส่หมายเลข 1-14 ลงหน้าช่องว่างที่เว้นไว้ให้ ..........ใส่พริกแห้งเม็ดใหญ่ ..........จุดเตา ..........คั่วส่วนผสมในกระทะ ..........ปิดเตา ..........ตั้งกระทะ ..........ใส่เกลือ ..........ใส่ขาเห็ดหอมที่ปั่นแล้ว ..........ใส่ซอสถั่วเหลือง ..........ใส่น้ำตาลปี๊บ ..........ใส่น้ำมะขามเปียก ..........ใส่ดอกเห็ดหอมที่หั่นแล้ว ..........คั่วให้เข้ากัน ..........ใส่โปรตีนเกษตรที่ปั่นละเอียด ..........ใส่พริกขี้หนูป่น
คำสั่ง จงนำหมายเลขใต้ภาพแก้วใส่ลงในช่องว่าง ชื่อแก้วให้ถูกต้อง .......... แก้วไวน์แดง .......... แก้วไวน์ขาว .......... แก้วบรั่นดี .......... แก้วค๊อกเทล .......... แก้วแชมเปญ
ตัวอย่าง : Checklist เนื้อหา พอใช้ ดี ดีมาก 1. หั่นถั่วฝักยาวเป็นชิ้นเล็ก ๆ 2. ซอยใบมะกรูดเป็นฝอย 3. นวดเนื้อปลาขูดกับเครื่องแกง เข้าด้วยกัน 4. ปั้นส่วนผสมเป็นรูปกลม และบีบให้แบนเล็กน้อย 5. ระบุชิ้นทอดมันที่สุกแล้ว
ประเภทของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับพิสัยการเรียนรู้แต่ละประเภทประเภทของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับพิสัยการเรียนรู้แต่ละประเภท ประเภทของแบบทดสอบ พิสัย หมายเหตุ การเรียนรู้ OBJECTIVE True False C Efficient for items with only two logical responses Completion C Natural for brief Responses Multiple-Choice C Use when answer is long, reduces effect of guessing, so can have fewer items Matching C Efficient but not for higher level learning tasks
ประเภทของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับพิสัยการเรียนรู้แต่ละประเภท ต่อ ประเภทของแบบทดสอบ พิสัย หมายเหตุ การเรียนรู้ ESSAY Essay C Score systematically Extended Report C Clarify required components ACTIVITY Lab Reports C Type of learning used for depends on content and structure Exercises C, P Separate use for testing from use for instruction Projects C, P, A Good for interactive domain learning
ประเภทของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับพิสัยการเรียนรู้แต่ละประเภท ต่อ ประเภทของแบบทดสอบ พิสัย หมายเหตุ การเรียนรู้ OBSERVATION Checklists P, A Excellent for procedural knowledge and practice Rating Scales P, A Self or observational, degrees of subjectivity Anecdotes A Subjective (self-report) Interviews A Revealing, can have degree of objectivity
ประเภทของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับพิสัยการเรียนรู้แต่ละประเภท ต่อ ประเภทของแบบทดสอบ พิสัย หมายเหตุ การเรียนรู้ APPLICATION Problem Solving C, A For higher level of learning Product C, P, A Especially for interactive domain learning C = Cognitive (พุทธิพิสัย) A = Affective (จิตพิสัย) P = Psychomotor (ทักษพิสัย)
1.6.3 การเขียน Error Matrices • เพื่อบันทึกข้อมูลผลการประเมินที่ผู้เรียนไม่ผ่าน • ในแบบทดสอบ • เพื่อให้ทราบข้อมูลว่าผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม • ตามที่ต้องการหรือไม่ หรือผู้เรียนมีปัญหาอะไร • เพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงสื่อการสอน
ตัวอย่าง : An Error Matrix ชื่อผู้เรียน/เลขข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 รวม วิทะกร 6 อนาวิล 1 เหรียญทอง 1 เมรินทร์ 1 กวินชา 4 สุวิทย์ 1 รวม 2 2 1 6 1 1 1 0 0 14 X X X X X X X X X X X X X X
2. การพัฒนาสื่อ 2.1 Skeleton Design 2.2 Storyboarding
การพัฒนาสื่อ • Skeleton Design • เป็นการกำหนดรูปแบบสื่ออย่างคร่าว ๆ • Storyboarding • เป็นการแสดงภาพของเนื้อหาที่จะเสนอในสื่อตามลำดับขั้น • เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานที่นักออกแบบสื่อการสอนใช้เป็น • แนวทางในการผลิตสื่อหรือใช้เป็นข้อมูลในการทำงาน • ร่วมกับผู้ผลิตสื่อรายอื่น ๆ
Skeleton Design พัฒนาบทเรียนโดยออกแบบโครงสร้างของบทเรียน จัดเรียงลำดับบทเรียน โดยใช้แผนภูมิSkeleton Design ดังนี้ หน้า Intro - ให้ชื่อบทเรียนและปุ่มกดเพื่อเข้าสู่บทเรียน - ให้ข้อมูลเบื้องต้นและแนะนำบทเรียน - แสดงเมนูปฏิสัมพันธ์ต่าง ๆ หน้าหลัก
Skeleton Design(ต่อ) วัตถุประสงค์ ของบทเรียน - วัตถุประสงค์ของบทเรียนทั้งชุด แบบทดสอบก่อนเรียนบทที่ 1 - แบบทดสอบก่อนเรียนบทที่ 1
Skeleton Design (ต่อ) บทที่ 1 การสมัครใช้บริการ - เนื้อหาของบทที่ 1 ทั้งบท แบบทดสอบ หลังเรียนบทที่ 1 - แบบทดสอบหลังเรียนของบทที่ 1 บทที่ 2 การเติมเงินเข้าระบบ - เนื้อหาของบทที่ 2
ตัวอย่าง Storyboard ชื่อโครงการ Task Sub – task Sub - sub Task รูปแบบที่ปรากฏหน้าจอ เนื้อหา ข้อกำหนดทางเทคนิค ผู้ออกแบบวันที่
โครงการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง วิธีการใช้บริการพิมพ์ผลออกทางเครื่องพิมพ์ของ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Task : ความรู้เกี่ยวกับการใช้บริการพิมพ์ผลออกทางเครื่องพิมพ์ Sub Task : ความรู้เกี่ยวกับการสมัครใช้บริการ Sub-sub Task : ความรู้เกี่ยวกับการขอรับใบสมัคร รูปแบบที่ปรากฏบนหน้าจอ Expert Printing : พิมพ์ได้ พิมพ์ดี ในการขอรับใบสมัครเพื่อทำการสมัครใช้บริการนั้น ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนย่อย คือ 1.1.1 การแจ้งความประสงค์กับเจ้าหน้าที่ 1.1.2 การรับใบสมัคร เมนู ข้อกำหนดทางเทคนิค Font : Ms san serif Size : X-small ผู้ออกแบบ : เป็นหนึ่ง ศรีสุภาพ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2550
Analysis Need Analysis Learner Characteristics - Learner Profile Chart Task Analysis - Cluster Analysis - Task Inventory - Flowchart - Task Knowledge Design - INPUT/ACTION OUTPUT Diagram - Instructional Goal/Observable and Measurable Learning Outcomes - TPO/EO in ABCD format - Test Design Development - Skeleton Design - Storyboarding Implementation Evaluation