730 likes | 869 Views
บทที่ 9. แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ กับชีวิต. เนื้อหา. ระบบปัญญาประดิษฐ์ เทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกที่ ทุกเวลา เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา นาโนเทคโนโลยี รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. 9.1 ระบบปัญญาประดิษฐ์ ( AI : A rtificial I ntelligence ).
E N D
บทที่ 9 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ กับชีวิต
เนื้อหา • ระบบปัญญาประดิษฐ์ • เทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกที่ ทุกเวลา • เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา • นาโนเทคโนโลยี • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
9.1 ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI:ArtificialIntelligence) คือ : การทำให้คอมพิวเตอร์สามารถหาเหตุผลได้ เรียนรู้ และทำงานได้เหมือนสมองคน
การประยุกต์ใช้งาน AI • ภาษาธรรมชาติ • โครงข่ายประสาทเทียม • ระบบผู้เชี่ยวชาญ • ศาสตร์ด้านหุ่นยนต์
9.1.1 ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) • การประมวลผลตัวอักษร • คำ • ข้อความ • ภาพ • ความรู้ด้านภาษาศาสตร์
การประมวลผลภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์การประมวลผลภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์
9.1.2 โครงข่ายประสาทเทียม • คอมพิวเตอร์รู้จักคิดและจดจำเสมือนประสาทของมนุษย์ หรือเรียกว่า “สมองกล”
จำลองการมองเห็นของมนุษย์ โดยการ scan ม่านตา
9.1.3 ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) - เก็บความรู้ ความชำนาญไว้ได้ตลอด - สามารถขยายความสามารถในการตัดสินใจของ คนได้มากมาย - ลดการพึ่งพาผู้เชี่ยวชาญ - ใช้เป็นเครื่องมือในการฝึกหัด
ตัวอย่างโปรแกรม RTXPS • ซึ่งเป็นโปรแกรมระบบผู้เชี่ยวชาญแบบประมวลผลทันทีสำหรับสนับสนุนการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อมที่ให้บริการบนเว็บ www.ess.co.at/RTXPS/
การประยุกต์ใช้ด้านการแพทย์การประยุกต์ใช้ด้านการแพทย์
ศาสตร์ด้านหุ่นยนต์ • การนำคอมพิวเตอร์มาทำงานร่วมกับเครื่องจักรกลที่สามารถเขียนโปรแกรมคำสั่งให้ทำงานหรือหน้าที่ต่างๆ แทนมนุษย์
หุ่นยนต์สัตว์เลี้ยง Aibo
9.2 เทคโนโลยีการสื่อสาร ทุกที่ ทุกเวลา
Ubiquitous technology (ยูบิควิตัส) • ผู้ใช้สามารถเข้าถึงคอมพิวเตอร์ได้ทุกหนทุกแห่ง สภาพแวดล้อมที่สามารถใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับเครือข่าย ไม่ว่าจะอยู่ในที่แห่งใด
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
E-Learning • การนำเอาเทคโนโลยีเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วยในการเรียนการสอน การถ่ายทอดความรู้ การอบรม การทดสอบและประเมินผลผ่านเว็บเพจ
การเรียนรู้ผ่านเว็บ www.thaiwbi.com
บทเรียน “คอมพิวเตอร์เบื้องต้น”
ลักษณะสำคัญของ e-Learning • เรียนได้ทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา • การใช้สื่อประสม • สามารถเลือกเรียนได้ตามต้องการ • สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ • มีเครื่องวัดผลการเรียน
ห้องสมุดเสมือน • สามารถให้บริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้สามารถสืบค้นและเข้าถึงสารสนเทศภายในห้องสมุดได้เสมือนห้องสมุดจริง
http://www.arc.dusit.ac.th/ ตัวอย่างของ Virtual Library
สำนักวิทยบริการ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต
นาโน (nano) แปลว่า 1 ในพันล้านส่วน หรือ 10-9 1 = 0.000000001 1,000,000,000