1 / 19

ความเป็นมา

ความเป็นมา. เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศในช่วงเวลาที่ผ่านมา เป็นแรงกดดันให้ภาครัฐจำเป็นต้องปรับตัว ให้ทันกับสภาพแวดล้อมใหม่ที่เปลี่ยนไป. 2. 3.

tokala
Download Presentation

ความเป็นมา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเป็นมา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศในช่วงเวลาที่ผ่านมา เป็นแรงกดดันให้ภาครัฐจำเป็นต้องปรับตัวให้ทันกับสภาพแวดล้อมใหม่ที่เปลี่ยนไป 2

  2. 3 มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 18 พฤศจิกายน 2546 เห็นชอบในเรื่องเงื่อนไขตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 โดยได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติตามมาตรา 22 ให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และสำนักงบประมาณ ร่วมกันศึกษาแนวทางดำเนินการ “ ประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ”ให้แล้วเสร็จในเดือน ต.ค.2547

  3. นิยาม การประเมินความคุ้มค่า การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐ เพื่อให้ได้ผลผลิต ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ มีประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรที่ใช้ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งทางบวกและทางลบ ทั้งที่สามารถคำนวณเป็นตัวเงินและ ไม่เป็นตัวเงิน

  4. 5 วัตถุประสงค์ มุ่งให้ส่วนราชการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐด้วยตนเอง (Self – Assessment) เพื่อ 1. ประเมินว่า การปฏิบัติภารกิจมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและภาครัฐมาก หรือน้อยกว่าค่าใช้จ่ายและผลเสียที่เกิดขึ้นเพียงใด

  5. วัตถุประสงค์ 2. เป็นข้อมูลสำหรับส่วนราชการในการทบทวนจัดลำดับความสำคัญในการเลือกปฏิบัติภารกิจ หรือเป็นข้อมูลสำหรับรัฐบาลเพื่อพิจารณายุบเลิกภารกิจ รวมทั้งการปรับปรุงวิธีปฏิบัติภารกิจ (Self – Improvement) ให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 3. เป็นแนวทางในการพิจารณาตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป (Self – Control)

  6. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่าขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า  การประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ควรประเมินเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจ  ภารกิจที่ต้องประเมินให้ความสำคัญเฉพาะภารกิจหลัก (Core Business)

  7. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่าขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า • ภารกิจหลัก เป็นภารกิจที่ส่วนราชการ (กรม)ต้องดำเนินการให้บรรลุวิสัยทัศน์ • ผลผลิตหลัก หมายความถึง ผลผลิตที่ได้จากการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน ทั้งที่มีลักษณะเป็นงานหรือโครงการ • โครงการสำคัญเพื่อผลักดันภารกิจ ในหลายหน่วยงานต้องอาศัยการดำเนินงานโครงการเพื่อผลักดันให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติภารกิจ

  8. กรอบการประเมินความคุ้มค่ากรอบการประเมินความคุ้มค่า 1 การสร้างผลผลิตหรือการให้บริการ ด้วยต้นทุนต่ำที่สุด 2 ความสอดคล้องในการใช้ทรัพยากรกระบวนการทำงานและผลผลิต ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การบรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมายในการปฏิบัติภารกิจและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ผลกระทบ ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ทั้งที่คาดหมายและไม่คาดหมาย

  9. 10 การประเมินความคุ้มค่า มิติที่ 1 : ประสิทธิภาพ 1. ต้นทุนต่อหน่วย (Unit-Cost) 2. ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน (Quantity) 3. คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดตามคู่มือการ ประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพ (Quality) 10

  10. การประเมินความคุ้มค่าการประเมินความคุ้มค่า 4. สัดส่วนของเวลาที่ใช้จริงในการให้บริการเปรียบเทียบกับระยะเวลาที่กำหนด (Timeliness) 5. สัดส่วนของค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน 6. สัดส่วนของผลผลิตต่อทรัพยากร 7. ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อกระบวนการ ให้บริการ

  11. การประเมินความคุ้มค่าการประเมินความคุ้มค่า มิติที่ 2 ประสิทธิผล 1. ระดับความสำเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์เป้าหมาย 2. ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการที่มีต่อผล ประโยชน์จากการใช้บริการ 3. ประสิทธิผลของค่าใช้จ่าย (Cost- Effectiveness)

  12. การประเมินความคุ้มค่าการประเมินความคุ้มค่า มิติที่ 3 ผลกระทบ 1. ผลกระทบที่มีต่อประชาชน 2. ผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจ 3. ผลกระทบทางสังคม 4. ผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม 5. การประเมินผลกระทบทางการเมือง

  13. การประเมินความคุ้มค่าของ สมอ. พ.ศ.2552 • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) กำหนดให้ส่วนราชการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของปี 2551 อย่างน้อย 1 ผลผลิต • คณะกรรมการด้านแผนงานและงบประมาณ มีมติให้ประเมินความคุ้มค่า ผลผลิตที่ 2 : ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน

  14. การประเมินความคุ้มค่าของ สมอ.ประจำปี พ.ศ. 2554 • คณะกรรมการด้านแผนงานและงบประมาณ มีมติให้ประเมินความคุ้มค่า โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)

  15. การวิเคราะห์ผลการประเมินมิติประสิทธิภาพการวิเคราะห์ผลการประเมินมิติประสิทธิภาพ ต้นทุนต่อหน่วย มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ทางเลือก ปรับแผนเพิ่มปริมาณงาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเพื่อให้ทราบรายละเอียดว่าค่าใช้จ่ายประเภทใดที่เพิ่มสูงขึ้น

More Related