1 / 47

ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ สมชัย จิตสุชน ยศ วัชระคุปต์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

โลกาภิวัตน์กับเศรษฐกิจไทย : ผลกระทบและแนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ เพื่อความยั่งยืน Globalization of Thailand: Economic Impacts and Restructuring for Sustainability. ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ สมชัย จิตสุชน ยศ วัชระคุปต์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. เนื้อหาการนำเสนอ (Presentation Contents).

tokala
Download Presentation

ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ สมชัย จิตสุชน ยศ วัชระคุปต์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โลกาภิวัตน์กับเศรษฐกิจไทย:ผลกระทบและแนวทางการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อความยั่งยืนGlobalization of Thailand: Economic Impacts and Restructuring for Sustainability ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ สมชัย จิตสุชน ยศ วัชระคุปต์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

  2. เนื้อหาการนำเสนอ(Presentation Contents) 1. โลกาภิวัตน์: ผลกระทบระดับระหว่างประเทศ(Impacts of Globalization: A Global View) 2. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย: ภาพทั่วไป(Impacts on Thailand: Descriptive Facts) 3. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย: การศึกษาทางเศรษฐมิติ(Impacts on Thailand: Econometric Studies) 4. ขีดความสามารถในการทดแทนการนำเข้า(Thailand’s Import Substitution Potentials) 5. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อลดการพึ่งพาต่างประเทศ(Economic Restructuring to Reduce External Dependence)

  3. โลกาภิวัตน์: ผลกระทบในระดับโลกGlobalization Impacts:A Global View

  4. ผลกระทบโลกาภิวัตน์ในระดับโลก(Globalization Impacts: A Global View) • เพิ่มการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (fostering growth) • ลดความยากจนตัวเงิน (reducing absolute poverty) • แต่อาจมีส่วนเพิ่มความยากจนเปรียบเทียบ/เพิ่มช่องว่าง รายได้ [ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีระดับสูงอธิบายได้ดีกว่า] (together with technological advancement, widening income disparity) • กระตุ้นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (stimulating technological progress) • อาจเพิ่มความเสี่ยง/ผันผวน ในระดับประเทศหรือระดับภาคการผลิต(may be responsible for increased risks, nationally and at sector level)

  5. รายได้คนจนเพิ่มในอัตราใกล้เคียงกับรายได้เฉลี่ย(Poor’s income grows proportionately to the Average’s)

  6. ความไม่เท่าเทียมกันภายในประเทศสูงขึ้น(Within-Country Inequalities Rising)

  7. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย: ภาพทั่วไปImpacts on Thailand: Descriptive Facts

  8. ภาพรวมผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย (Overall Impacts) เหมือนในระดับโลกเกือบทุกประการ(Impacts on Thailand are very similar to the global ones) • เศรษฐกิจขยายตัว (high growth) • ความยากจนลดลงแต่ไม่เท่าเทียมมากขึ้น (lower poverty, higher inequality) • ความผันผวนจากเงินทุนเคลื่อนย้ายสูงขึ้น (increased exposure to external risks)

  9. การพึ่งพิงต่างประเทศสูงขึ้น(Increased External Dependence) • สัดส่วนการเปิดประเทศสูงขึ้นเรื่อย ๆ (openness ratio constantly increasing) • โครงสร้างสินค้าส่งออกเปลี่ยนเร็ว (rapid changes in export structure) • จากสินค้าเกษตร > สินค้าอุตสาหกรรม (from agric. to non-agric.) • จากสินค้าแรงงาน > เกษตรแปรรูป > สินค้าไฮเทค (labor > processing > hi-tech products) • พึ่งพิงการนำเข้าสูงขึ้น

  10. ระดับการเปิดประเทศสูงขึ้น ทั้งส่งออกและนำเข้า(Ever Increasing Openness both export/import)

  11. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการส่งออก(Changes in Export Structure)

  12. ความเสี่ยงมีแนวโน้มสูงขึ้น(Increased External Risks) • ด้านเงินทุน: ความเสี่ยงจากเงินทุนเคลื่อนย้าย(Financial Side: risks from rapid capital movements) • ด้านการค้า: สินค้าไฮเทคผันผวนสูงด้านอุปสงค์/ต้นทุน (Trade Side: hi-tech products more volatile in both demand/cost) • ด้านสังคม: ความไม่พอใจของผู้เสียหายหรือได้ประโยชน์น้อย(Social Side: discontent from non-participants or marginal beneficiaries)

  13. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย:การศึกษาเชิงเศรษฐมิติImpacts on Thailand: Econometric Studies

  14. แบบจำลองที่หนึ่ง (The First Model) • เป็นการศึกษาแบบ Pooled Regression (Pooled Regression) • ศึกษาผลของการเปิดประเทศต่อ (ก) Growth (ข) ความผันผวน(to study the impacts of openness on growth and volatility) • ใช้ข้อมูลปี 1980-1995 (แบ่งเป็น 3 ช่วง) ของ 11 สาขาการผลิต(use 3 sub-period between 1980-1995 of 11 sectors)

  15. ความสัมพันธ์การเปิดประเทศกับการขยายตัว(Openness-Growth Relation)

  16. ความสัมพันธ์การเปิดประเทศกับความผันผวน(Openness-Volatility Relation)

  17. ผลทางเศรษฐมิติยืนยันความสัมพันธ์ทางบวก(Positive Relations confirmed econometrically) ตาราง 2.10 หน้า 21 (Table 2.10 page 21)

  18. ผลทางเศรษฐมิติยืนยันความสัมพันธ์ทางบวก(Positive Relations confirmed econometrically) ตาราง 2.11 หน้า 22 (Table 2.11 page 22)

  19. แบบจำลองที่สอง (The Second Model) • แบบจำลองที่สอง: การศึกษาแบบ System of Equations(Second Model: System of Equations) ใช้ข้อมูลรายปี 1980-2000 ศึกษาความสัมพันธ์ของการ(use annual data for 1980-2000 to study relations between) • ระดับการเปิดประเทศ (openness) • การขยายตัวทางเศรษฐกิจ (Growth) • การกระจายรายได้ (Inequality) • ระดับความยากจน (Poverty)

  20. ความยากจน (เมือง, ชนบท) รายจ่ายสังคมของรัฐบาล การขยายตัวเศรษฐกิจ หรือระดับรายได้ การกระจายรายได้ ระดับการเปิดประประเทศ ความสัมพันธ์ที่ทดสอบสอดคล้องกับทฤษฎี(Tested relations obtained from accepted theories

  21. ผลประมาณการยืนยันข้อสังเกตก่อนหน้า(Estimated results confirm all observed facts) ตาราง 2.2 หน้า 24 (Table 2.12 page 24)

  22. ขีดความสามารถในการผลิตทดแทนการนำเข้าขีดความสามารถในการผลิตทดแทนการนำเข้า โดย ดร.ปรเมธี วิมลศิริ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 14 ธันวาคม 2545

  23. นโยบายการสร้างศักยภาพในประเทศนโยบายการสร้างศักยภาพในประเทศ นโยบายสร้างศักยภาพในประเทศ วิกฤตเศรษฐกิจ

  24. โครงสร้างการนำเข้า 60 50 40 30 20 10 0 ทุน วัตถุดิบ บริโภค พาหนะ เชื้อเพลิง

  25. กรอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างมีคุณภาพและยั่งยืนกรอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน • “ หากโครงสร้างเศรษฐกิจยังคงเป็นอย่างเดิมดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มจะขาดดุลหลังจากที่เศรษฐกิจขยายตัวไประยะหนึ่งดังนั้นการที่จะมีการขยายตัวได้ในระดับดังกล่าวโดยมีดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลได้จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจ 3 ประการ”คือ • เพิ่มขีดความสามารถในการหารายได้เงินตราต่างประเทศจากการส่งออกการท่องเที่ยวและธุรกิจบริการอื่นที่มีศักยภาพ • กระจายการลงทุนและการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจสู่ชนบทเพื่อเพิ่มอุปสงค์ในประเทศ และใช้ศักยภาพในการผลิตการสร้างงานการบริโภคและการลงทุนซึ่งมีอยู่อีกมาก • ปรับปรุงกระบวนการผลิตและการบริหารจัดการให้ใช้สินค้าทุนและวัตถุดิบนำเข้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นและส่งเสริมให้กระบวนการผลิตภายในประเทศมีการเชื่อมโยงอย่างครบวงจรเพื่อให้ความต้องการใช้สินค้านำเข้าต่อหน่วยการผลิตลดลงและมีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มในประเทศสูงขึ้น ”

  26. กลุ่มสินค้า อัตราการขยายตัว (%) ศักยภาพและโอกาสในการผลิตทดแทนการนำเข้า 1. ทุน • เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 9.07 ต่ำ • เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม 16.12 ต่ำ • เครื่องมือวิทยาศาสตร์การแพทย์ 10.11 ต่ำ 2. วัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง • แผงวงจรไฟฟ้า 18.06 ปานกลาง • เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ 25.04 ต่ำ • หลอดภาพโทรทัศน์ 0.62 ปานกลาง • เหล็กและเหล็กกล้า 13.96 ปานกลาง • ผลิตภัณฑ์โลหะ -1.40 ต่ำ • สินแร่โลหะอื่นๆ 16.80 ต่ำ • เคมีภัณฑ์ 10.35 ปานกลาง • เพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ 28.73 ปานกลาง • ผ้าผืน 9.23 สูง เส้นใยใช้ในการทอ 3.79 ต่ำ ส่วนประกอบทั้งโครงรถ/ ตัวถัง 84.98 สูง ความเห็นเกี่ยวกับโอกาสในการผลิตเพื่อทดแทนสินค้านำเข้า

  27. กลุ่มสินค้า อัตราการขยายตัว (%) ศักยภาพและโอกาสในการผลิต ทดแทนการนำเข้า 3. เชื้อเพลิง • น้ำมันดิบ 28.88 ต่ำ 4. อุปโภค/ บริโภค • เครื่องใช้ไฟฟ้า 1.24 ปานกลาง • ผลิตภัณฑ์พลาสติก 11.23 ปานกลาง • ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม 17.50 ปานกลาง • กระดาษ กระดาษแข็ง ผลิตภัณฑ์ 14.10 ปานกลาง 5. ยานพาหนะ • เครื่องบิน เรือ อุปกรณ์การบิน 25.94 ต่ำ ความเห็นเกี่ยวกับโอกาสในการผลิตเพื่อทดแทนสินค้านำเข้า (ต่อ)

  28. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อลดการพึ่งพาภาคต่างประเทศEconomic Restructuring to Reduce External Dependence

  29. ความเป็นไปได้และเงื่อนไขในการที่จะพึ่งพาภาคต่างประเทศน้อยลง(Necessary Conditions for Relying Less on Exports) • หลังจากวิกฤติเศรษฐกิจ สัดส่วนการส่งออกต่อ GDP เพิ่มขึ้นอย่างมาก จากประมาณ 40% ก่อนวิกฤติ มาเป็นประมาณ 66% ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการฟื้นตัวจากวิกฤติเศรษฐกิจ (Ratio of Exports to GDP increased significantly after the crisis, from about 40% before the crisis to about 66% currently. This was a necessary part of the recovery process.) • สัดส่วนที่สูงขึ้นทำให้เศรษฐกิจไทยถูกกระทบจากภายนอกมากขึ้น และเนื่องจากภาวะการแข่งขันที่รุนแรง การส่งออกอาจจะไม่สามารถขยายตัวในระดับที่สูงได้อย่างต่อเนื่อง (Thai economy more exposed to external factors. Also, with intense competition in the world markets, exports may not be able to increase at high rates continually.) • ดังนั้น ควรวิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้และเงื่อนไขที่จะพึ่งการส่งออกน้อยลง (Should therefore analyze the necessary conditions for relying less on exports.)

  30. แนวทางในการวิเคราะห์ (Methodology) • เริ่มด้วยการกำหนดเป้าหมายของการลดการพึ่งพาการส่งออก และเป้าหมายของการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระดับที่เหมาะสมโดยมีเสถียรภาพ (Start by setttig various targets for reducing export dependence and appropriate pace of growth with stability.) • ใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาควิเคราะห์ศักยภาพของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ภายใต้เงื่อนไขต่างๆ สี่ด้าน คือ 1) เป้าของการเพิ่มการส่งออก 2) การลดสัดส่วนของสินค้านำเข้า 3) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ 4) การประหยัดพลังงาน (Use macroeconomic model to find potential growth under certain assumptions about 1) export growth target 2) import reduction 3) productivity growth and 4) energy saving.) • โดยรวม ผลชี้ให้เห็นว่าเราสามารถพึ่งการส่งออกน้อยลงโดยยังขยายตัวในอัตราที่น่าพอใจได้ แต่ก็มีเงื่อนไขที่ต้องดำเนินการหลายด้าน (Overall, result shows that it is possible for Thailand to rely less on exports and still attain reasonable growth. However, many conditions will have to be satisfied.)

  31. การกำหนดเป้าหมายสำหรับห้าปีข้างหน้าFive Year Targets • ให้สัดส่วนของการส่งออก (สินค้าและบริการ) ต่อ GDP ลดลงเหลือประมาณ 55% จาก 66% (Ratio of Exports to GDP reduce to 55% in 5 years from 66% currently.) • เศรษฐกิจจริงขยายตัวร้อยละ6 เงินเฟ้อร้อยละ 1.5 (Real GDP growth 6% per annum, inflation 1.5%.) • ดุลบัญชีเดินสะพัดยังเกิดดุล แต่ลดลงได้ปีละ 25% จากระดับของปีก่อน จะเป็นประมาณ 64.6 พันล้านบาทใน 2550 (Current account remains positive, but can decline by 25% each year from level of previous year, reaching about 64.6 billion Baht in 2007.)

  32. การขยายตัวของการส่งออก (Export Growth) เป้าหมายต่างๆ หมายถึงการส่งออกจะขยายตัวเฉลี่ยปีละประมาณ 3.7%(These targets imply an average export growth of 3.7%.) * ประมาณการณ์ ** เป้า

  33. เครื่องมือในการวิเคราะห์ (Method of Analysis) • ใช้แบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคแบบดุลยภาพทั่วไป (Computable General Equilibrium Model) • ใช้ข้อมูลบัญชีเมตริกส์สังคมปี 2543 (Use social accounting matrix, SAM, for year 2000.) • มี 79 สาขาการผลิต (79 Sectors Production) • แยกครัวเรือนออกเป็น 20 ประเทศ ตั้งแต่รวยสุด 10% ถึงจนสุด 10% และระหว่างครัวเรือนเกษตรและนอกเกษตร (20 household types, by income decile and whether in agriculture or non-agriculture.)

  34. โครงสร้างแบบจำลอง (Model Structure) • ส่วนใหญ่คล้ายกับ CGE ทั่วไป (Mostly standard CGE assumptions) • การผลิตใช้แรงงานและทุน ซึ่งทดแทนกันได้ (labor and capital substitutable in production) • มีการใช้แรงงานอย่างเต็มที่และแรงงานโยกย้ายได้ระหว่างสาขาต่างๆ และสมมุติให้กำลังแรงงานเพิ่ม 1.5% ต่อปี (Full employment and full labor mobility between sectors. Labor supply increases by 1.5% per year.) • ยังมีกำลังการผลิตส่วนเกิน (Still excess capacity, capital not a constraint to growth.) • ทดแทนกันได้ระหว่างสินค้าที่ผลิตในประเทศกับการนำเข้า สัดส่วนเป็นตัวแปรภายนอก (Share between domestic and import exogenous) • การส่งออกและดุลบัญชีเดินสะพัดเป็นตัวแปรภายนอก (Export and current account are exogenous) • การลงทุนกำหนดภายในแบบจำลอง (Investment endogenous)

  35. ผลจากการเพิ่มการส่งออก (Results from Export Growth) • การเพิ่มการส่งออกของแต่ละสาขามีผลต่อระบบเศรษฐกิจแตกต่างกัน(Export earnings from each sector has different impacts on economy.) เช่น ตัวอย่างของการเพิ่มการส่งออกของบางสาขา 10,000 ล้านบาท ต่อ Real GDP คือ (Example of impact on real GDP if export earnings of some sectors increase by 10,000 Baht)

  36. ผลจากการเพิ่มการส่งออก (ต่อ) (Continued) เศรษฐกิจรวมสามารถขยายตัวได้ร้อยละ 3.65 ต่อปี (Economy can grow by 3.65% per annum)

  37. การลดการพึ่งพาการนำเข้า (Import Reduction) • ถ้าลดสัดส่วนสินค้านำเข้าได้ร้อยละ 5 ภายในห้าปี รวมทั้งเพิ่มการส่งออก ระบบเศรษฐกิจสามารถขยายตัวได้ร้อยละ 5.2 ต่อปี (If all import shares can be reduced by 5% over the next 5 years, then together with export growth, real GDP can grow by 5.2% per year.) • อย่างไรก็ตาม คงยากที่จะลดสัดส่วนการนำเข้าทุกอย่างได้ จึงได้ใช้ข้อสมมติฐานตามที่สภาพัฒฯ ได้สำรวจมา (However, difficult to reduce all import shares by 5%, so use assumptions based no survey in NESDB’s paper.) • ในกรณึนี้ถ้ารวมการขยายตัวของการส่งออก เศรษฐกิจรวมสามารถขยายตัวได้ร้อยละ 4.75 (In this case, with export growth, real GDP can increase by about 4.75% per year.)

  38. การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต (Productivity Growth) • ระหว่างปี 2524-2538 ประสิทธิภาพการผลิตรวมเพิ่มประมาณร้อยละ 1 ต่อปี (Between 1981-1995, total factor productivity, TFP, in Thailand increased by about 1% per year.) • ร้อยละ 1 นี้ไม่รวมผลจากการเพิ่มคุณภาพของแรงงาน แต่ในการวิเคราะห์ได้รวมการเพิ่มคุณภาพของแรงงานไว้แล้วในข้อสมมุติฐานที่ให้กำลังแรงงานเพิ่มร้อยละ 1.5 ต่อปี (This 1% excludes impacts from increased labor quality, but labor quality improvement already captured in assumption of labor supply increasing by 1.5% per year.) • ถ้าสมมุติให้ TFP เพิ่มปีละ 1% ในช่วง 5 ปีข้างหน้า เมื่อรวมกับการเพิ่มการส่งอออกและการลดสัดส่วนการนำเข้า เศรษฐกิจจะขยายตัวได้ร้อยละ 5.8 ต่อปี (If TFP can grow by 1% per year, then with export growth and reduction in import share, real GDP growth can reach 5.8% per year.) • คำถามคือ TFP น่าจะเพิ่มปีละ 1% ได้หรือไม่ (Question is whether TFP is likely to increase by 1%.)

  39. การอธิบาย TFP Growth (Explaining TFP Growth) • การศึกษาของปราณีและฉลองภพ (1998) พบว่าสมการนี้สามารถอธิบาย TFP growth ได้ดี (Study by Tinakorn and Sussangkarn, 1998, found the following equation for explaining TFP growth.) GTFP = -34.5344 + 0.1044*GOPEN + 0.2047*GSEMNAG + 8.8421*GCAP - 0.5054*GCAP2 (3.1) (-3.095) (1.625) (2.315) (3.221) (-3.286) (t-statistics in brackets) R2 = 0.712 Adjusted R2 = 0.5969 ข้อมูลระหว่างปี 1981-1995 GOPEN = การเพื่มขึ้นของอัตราการเปิดของระบบเศรษฐกิข (Growth of Openness) GSEMNAG = การเพิ่มสัดส่วนการทำงานนอกภาคเกษตร (Growth in share of non-ag. employment) GCAP = อัตราการเพิ่มขึ้นของทุน (Growth of Capital Stock) GCAP2 = GCAP*GCAP

  40. การอธิบาย TFP Growth (ต่อ) (Continued) • ปรับปรุงโดยใช้ข้อมูล TFP ระหว่างปี 1996-1999 จากการศึกษาของสภาพัฒฯ มาเสริม (Updated to include TFP data between 1996-1999 from NESDB.) พบว่าสมการเปลี่ยนไป (Revised equation) GTFP = 2.6626 + 0.1776*XGDP - 0.2507*MGDP + 0.186*GINV - 0.0014*GINV2 (3.2) (1.436) (1.625) (-2.198) (5.473) (-1.460) (t-statistics in brackets) R2 = 0.78145 Adjusted R2 = 0.71901 ข้อมูลระหว่างปี 1981-1999 XGDP = สัดส่วนของการส่งออกต่อ GDP (Ratio of Exports to GDP) MGDP = สัดส่วนของการนำเข้าต่อ GDP (Ratio of Imports to GDP) GINV = อัตราการเพิ่มขึ้นของการลงทุนที่แท้จริง (Growth of Real Investment) GINV2 = GINV*GINV

  41. เทียบ TFP growth กับค่าทำนาย (Actual and Predicted TFP Growth)

  42. แนวโน้ม TFP growth (TFP growth outlook) • ใช้สมการ 3.2 เพื่อคาดการณ์ TFP growth พบว่ามีแนวโน้มขยายตัวได้ประมาณปีละ 0.28% เท่านั้น (Using equation 3.2, found that likely TFP growth over next five years is only about 0.28% per annum.) • ถ้าจะให้ TFP เพิ่มได้ร้อยละหนึ่งต่อปี ต้องมีมาตรการมาเสริมหลายด้าน เช่น ระบบการพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศที่ไทยมักติดลำดับต่ำ ระบบการศึกษาและฝึกอบรม การเพิ่มประสิทธิภาพของภาครัฐ เป็นต้น (To get TFP growth of 1% per annum, need many policy initiatives for example, to upgrade the S&T development system, reforming education and training, and increased efficiencies of public sector organizations.)

  43. การประหยัดพลังงาน (Energy Saving) • ท้ายสุด สมมุติให้สามารถประหยัดการใช้พลังงานในการผลิตได้ร้อยละ 5 ในช่วงห้าปีข้างหน้า (Lastly, assume that energy used in production can be reduced by 5% over the next five years.) • รวมกับการขยายตัวของการส่งออก การลดสัดส่วนการนำเข้า และการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต จะสามารถทำให้ระบบเศรษฐกิจมีศักยภาพที่จะขยายตัวได้ประมาณร้อยละ 6.0 ต่อปี เท่ากับเป้าที่ได้ตั้งไว้พอดี (Together with export growth, import reduction, increases in TFP, it turns out the potential growth rate of real GDP will be about 6.0%, exactly the target that was set.)

  44. สรุปผลจากกรณีต่างๆ (Summary of Results)

  45. ผลต่อการกระจายรายได้ (Impacts on Income Distribution)

  46. สรุปผล (Conclusions) • มีความเป็นไปได้ที่เศรษฐกิจจะขยายตัวร้อยละ 6 โดยยังมีเสถียรภาพ ถึงแม้ว่าจะลดสัดส่วนของการส่งออกต่อ GDP ลงเหลือร้อยละ 55 ในห้าปี (Potential to grow at 6% with stability even though export ratio to GDP reduced to 55% in five years.) • อย่างไรก็ตาม มีเงื่อนไขที่ต้องเน้นสาขาการส่งออกที่มีผลเชื่อมสู่ระบบเศรษฐกิจสูง ต้องสามารถลดการพึ่งพาการนำเข้าได้ ต้องมีมาตรการเพื่อเพิ่มประสิทธิการผลิตอย่างจริงจัง และต้องพยายามประหยัดพลังงาน (However, need to stress export sectors with large spill-over effects, reduce import dependence, increase productivity and reduce energy use.) • ผลพลอยได้ที่สำคัญอีกประการหนึ่งจากเป้าที่ได้ตั้งไว้คือการกระจายรายได้มีแนวโน้มดีขึ้นกว่าในปัจจุบัน (Important side effect of the targeted scenario is that income distribution is likely to improve from the present situation.)

  47. สรุปผลต่อ (Continued) • สิ่งที่ควรเสริมคือวิธีการที่จะดำเนินการตามเงื่อนไขต่างๆ ก็เป็นเรื่องที่มีความสำคัญมาก ตัวอย่างเช่น ถ้าการลดสัดส่วนการนำเข้าทำโดยการเพิ่มขีดความสามารถของเราในการผลิตสินค้าทดแทน ก็จะมีประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจ แต่ถ้าทำโดยมีผลให้ระบบเศรษฐกิจต้องใช้สินค้าที่มีคุณภาพด้อยลง ก็จะส่งผลทางลบตามมาอีกหลายด้าน เช่น ความสามารถในการแข่งขันลดลงไปอีก และการส่งออกก็อาจจะยิ่งขยายตัวต่ำลง ทำให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัวต่ำลง เป็นต้น (Need to add that the method used to achieve the various necessary conditions are also very important. For example, in reducing the import share, if this is done by increasing Thailand’s capability to produce high quality domestic substitutes, this will bring many benefits to the economy. However, if it results in the economy ending up having to use low quality domestic products, then there will be many negative implications, such as lowering competitiveness even more, leading to less export and less growth.)

More Related