361 likes | 1.19k Views
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด. โดย นางธรรมวรรณ บูรณสรรค์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ. 1. ระบบงาน. 1.1 การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์.
E N D
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด โดย นางธรรมวรรณ บูรณสรรค์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
1. ระบบงาน 1.1 การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์
- อาการและอาการแสดงที่ต้องมาโรงพยาบาล- ผลเสียต่อแม่และทารกในครรภ์- การรักษาของแพทย์- ระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาล- Individual Approach หนังยับยั้งคลอดครบตามเกณฑ์ 1.2 ให้ความรู้เรื่องการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
1.3 ให้ความรู้ในการดูแลทารกแรกเกิดก่อนกำหนด
2. การเฝ้าระวัง 2.1 โดยการใช้แบบบันทึกการคลอดก่อนกำหนดของเครือข่ายร่วมกับจังหวัด 2.2 ทะเบียนหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงจากแผนก ANC
3. การดูแลรักษายับยั้งคลอด 3.1 จัดทำแนวทางการดูแลแบบเครือข่าย
หญิงตั้งครรภ์ที่ Admit ด้วยภาวะคลอดก่อนกำหนด ในเวลาราชการ นอกเวลาราชการ พบแพทย์ที่แผนกผู้ป่วยนอกโดยระบบทางด่วน พบแพทย์ที่ห้องฉุกเฉินโดยระบบทางด่วน ปรึกษาสูติแพทย์ ปรึกษาสูติแพทย์ ส่งห้องคลอดเพื่อยับยั้งการคลอด ส่งห้องคลอดเพื่อยับยั้งการคลอด
รพสต. แพทย์ประเมิน รับไว้ใน รพ. มี มีน้ำเดินหรือไม่ ดูแลแบบน้ำคร่ำซึม ไม่มี ใช่ ปากมดลูก - เปิด > 2ชม. - บาง 80 % คลอด ไม่ใช่ ไม่ใช่ Tocolytic Protocol ใช่ นัดติดตามที่คลินิกครรภ์เสี่ยงสูง ยับยั้งการคลอดสำเร็จ แนวทางการดูแลภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
3.2 มี Care Map for Preterm Laborดูแลในห้องคลอด สื่อสารในสหสาขาวิชาชีพ
3.3 Care Map for Preterm Labor • - Fetal Monitoring • - Ultrasonography • - BUN, Cr, Electrolyte, UA, CBC, BS • - Terbutaline 5 amp in 5% DW 500ml. iv start 20ud/m ปรับยา 5ud/m ทุก 15-30 นาที จนกระทั่ง interval>10 นาทีและคงระดับน้ำยานั้นไว้ 24 ชั่วโมง • -เปลี่ยนยาฉีด Terbutaline 1/2 amp ทุก 4hr.×6doses • Feso 4 1×3 pc
3.3 Care Map for Preterm Labor (ต่อ) - Terbutaline(2.5) 2×4 pc - Amocy(500) 1×4 pc× 5 วัน - Homemedication, Terbutaline(2.5)pc×2, FeSO4 11 pc #30, vit C 1×3 pc - Pethidine 50 mg/im for Theraprutic - Dexamethasone (GA24-34 week)6 mg imทุก 12 hr.×4doses
3.4 ดูแลยับยั้งคลอดโดย 3.4.1 ให้ Bricanyl 5 amp+5%DW 500 ml v drip tritrateจนไม่มี Contraction in 24 hr 3.4.2 Bricanyl 0.5 ml sc ทุก 4 hr
4.1 จัดทำแนวทางการส่งต่อแบบเครือข่าย MCH Board / Conference Case 4. ระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลทุ่งฝน โรงพยาบาลบ้านดุง โรงพยาบาลไชยวาน โรงพยาบาลหนองหาน โรงพยาบาลพิบูลย์รักษ์
4.2 การส่งต่อโรงพยาบาลอุดรธานี แพทย์ประเมินน้ำหนักทารกในครรภ์น้อยกว่า 2,000 กรัม ให้การรักษาพยาบาลดูแลตามมาตรฐาน ส่งต่อโรงพยาบาลอุดรธานี
จัดสถานที่ 5. จัด Unit Preterm
6. จัดหาอุปกรณ์/เครื่องมือ
7. ติดตามดูแลต่อเนื่องในชุมชน
8. จัดทำระบบสารสนเทศเพื่อการสื่อสารกับ รพ.สต./PCU ทางระบบ HOSxP และทางโทรศัพท์
อัตรามารดาตาย เท่ากับ 0
เกิดนวัตกรรมการดูแลมารดาและทารกเกิดนวัตกรรมการดูแลมารดาและทารก
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1. ผู้บริหารสนับสนุนการดำเนินงาน 2. มีทีมสูติแพทย์ กุมารแพทย์ให้การดูแล 3. บุคลากรมีการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง 4. มีเครือข่ายการดูแลมารดาทารกระดับจังหวัด 5. สปสช. สนับสนุนด้านอุปกรณ์/เครื่องมือ
ปัญหา อุปสรรค 1. บุคลากรผู้รับผิดชอบงานมีจำนวนไม่เพียงพอต่อภาระงานที่เพิ่มขึ้น 2. Teen Age Pregnancy / Elderly Pregnancy 3. ไม่ฝากครรภ์, ฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์ 4. ระบบสารสนเทศยังไม่เอื้อต่อการบันทึกและจัดเก็บข้อมูล 5. ระบบการส่งต่อทารกคลอดก่อนกำหนดที่ รพศ. ซับซ้อนยุ่งยาก 6. ระบบขอคำปรึกษากุมารแพทย์ รพศ. ซับซ้อนหลายขั้นตอน