200 likes | 314 Views
การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน ของอาคาร. โดย : ศ.ดร.สุรพงษ์ จิระรัตนานนท์ , School of Environment Resources and Development, AIT นาย สิทธิโชค ผูกพันธุ์ , คณะวิศวกรรมศาสตร์ , มหาวิทยาลัยนเรศวร. 13-14 ธ.ค. 2549. ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินฯ.
E N D
การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานของอาคารการประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานของอาคาร โดย :ศ.ดร.สุรพงษ์ จิระรัตนานนท์,School of Environment Resources and Development,AIT นาย สิทธิโชค ผูกพันธุ์ , คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร 13-14 ธ.ค. 2549
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินฯข้อมูลที่ใช้ในการประเมินฯ • ข้อมูลการใช้พลังงานและดัชนีพลังงานในอาคารควบคุมฐาน 5 (Base 5) รวบรวมโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) • ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า รวบรวมโดยการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
การจัดแบ่งประเภทอาคารการจัดแบ่งประเภทอาคาร • แบ่งตามการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม (TSIC Code) • แบ่งตามลักษณะการใช้งานอาคาร เป็น 8 ประเภท • สำนักงาน • โรงแรม • โรงพยาบาล • ห้างสรรพสินค้าประเภทขายปลีก (Department store) • สถานศึกษา • อาคารอื่นๆ (ซึ่งประกอบด้วยอาคารสโมสร พิพิธภัณฑ์ และสถานเริงรมย์) • อาคารชุด (ที่ติดมิเตอร์เครื่องเดียวและอาจเป็นอาคารบริการห้องเช่า) • ห้างสรรพสินค้าประเภทขายปลีกและส่งหลายชนิด (Hypermarket)
การจัดแบ่งขนาดอาคาร • อาคารขนาดใหญ่พิเศษตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร คือ อาคารที่มีพื้นที่ใช้สอย (ไม่รวมพื้นที่จอดรถ) เกินกว่า 10,000 ตารางเมตรในอาคารเดียว • อาคารขนาดใหญ่และขนาดกลาง คือ อาคารที่มีพื้นที่ใช้สอยน้อยกว่า 10,000 ตารางเมตร และมีความต้องการพลังไฟฟ้า (power demand) เกินกว่าสามสิบกิโลวัตต์ (30 kW) • อาคารขนาดเล็ก คือ อาคารที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าน้อยกว่า 30 กิโลวัตต์
สรุปขั้นตอนการศึกษา • ศึกษาข้อมูลการใช้พลังงานและดัชนีพลังงานในอาคารควบคุม(ข้อมูลฐาน 5) • คัดแยกและเปรียบเทียบข้อมูล • จัดทำแบบจำลองใช้แทนอาคารอ้างอิง (reference building model) ของอาคารแต่ละประเภท และขนาด • ประเมินพลังงานและพลังไฟฟ้าที่อนุรักษ์ได้
ดัชนีการใช้พลังงานและดัชนีประสิทธิภาพเชิงพลังงานของอาคารพาณิชย์ดัชนีการใช้พลังงานและดัชนีประสิทธิภาพเชิงพลังงานของอาคารพาณิชย์
จำนวนอาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่จำแนกตามประเภทและเขตการไฟฟ้าจำนวนอาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่จำแนกตามประเภทและเขตการไฟฟ้า
แบบจำลองของอาคารสรรพสินค้าแบบจำลองของอาคารสรรพสินค้า ค่าดัชนีการใช้พลังงานและดัชนีประสิทธิภาพเชิงพลังงานของอาคาร ที่กำหนดให้แก่แบบจำลอง
ค่าดัชนีการใช้พลังงานและดัชนีประสิทธิภาพเชิงพลังงานของอาคาร ที่กำหนดให้แก่แบบจำลอง (ต่อ)
ค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของอาคารอ้างอิงประเภทและขนาดต่างๆ ที่ได้จากฐานข้อมูล 5 และค่าที่ได้ปรับตามสูตรใหม่แล้ว
ผลที่ได้จากแบบจำลองอาคารสรรพสินค้าผลที่ได้จากแบบจำลองอาคารสรรพสินค้า
ลักษณะภาระไฟฟ้าของแบบจำลองในกรณีอ้างอิง กรณีมาตรฐาน และกรณีที่มีผลตอบแทนเชิงเศรษฐศาสตร์สูง
สรุปผลการศึกษาศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานจากแบบจำลองสรุปผลการศึกษาศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานจากแบบจำลอง จัดทำแบบจำลองอาคารพาณิชย์ 8 ประเภทและ 2 ขนาดโดยได้พิจารณากรณีอ้างอิง กรณีมาตรฐาน และกรณีที่มีผลตอบแทนเชิงเศรษฐศาสตร์สูง กรณีอาคารขนาดใหญ่ กรณีมาตรฐาน (code) คืออาคารมีประสิทธิภาพเชิงอุณหภาพของผนัง ประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้าในการส่องสว่าง และประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศเป็นไปตามข้อกำหนด กรณีอาคารขนาดกลาง กรณีกรอบอาคารมีประสิทธิภาพดี (env) คือกรณีค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของผนัง (OTTV) และของหลังคา (RTTV) ต่างเป็นไปตามข้อกำหนด
ค่าพลังงานไฟฟ้ารายปีต่อพื้นที่ใช้สอยของอาคารพาณิชย์ 8 ประเภทในทั้ง 3 กรณีที่คำนวณได้จากแบบจำลอง
ศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานของอาคารขนาดใหญ่และขนาดกลางศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานของอาคารขนาดใหญ่และขนาดกลาง สมมติฐาน ปี ค.ศ. 2007 หรือ พ.ศ. 2550 เป็นปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานใหม่ (New Building Energy Code) ซึ่งบังคับใช้เต็มรูปแบบกับอาคารขนาดใหญ่ (ขนาดพื้นที่ของอาคารเกินกว่า 10,000 ตารางเมตร) และบังคับใช้เฉพาะส่วนของกรอบอาคาร (building envelope) กับอาคารขนาดกลาง ดังนั้นอาคารพาณิชย์ที่สร้างขึ้นใหม่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008 (พ.ศ.2551) เป็นต้นไปจะต้องมีลักษณะตามเกณฑ์ของมาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานใหม่
สมมติฐาน ศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานของอาคารพาณิชย์กรณีมาตรฐาน
ศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานของอาคารพาณิชย์กรณีมีโครงการเสริมจากกรณีมาตรฐานศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานของอาคารพาณิชย์กรณีมีโครงการเสริมจากกรณีมาตรฐาน สมมติฐาน