1 / 21

ผลประเมินการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2553 และ แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2554

ผลประเมินการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2553 และ แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2554. นายจิตรกร สามประดิษฐ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่ 30 ก.ย. 53 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์. เกณฑ์ประเมินผลปี 2553 รวม 3 ส่วน 100 คะแนน. วัดผลเรื่อง การปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ.

tino
Download Presentation

ผลประเมินการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2553 และ แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลประเมินการปฏิบัติงานของหน่วยงานผลประเมินการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2553 และ แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2554 นายจิตรกร สามประดิษฐ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่ 30 ก.ย. 53 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  2. เกณฑ์ประเมินผลปี 2553 รวม 3 ส่วน 100 คะแนน • วัดผลเรื่อง การปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ ส่วนที่ 1 (35 คะแนน) ส่วนที่ 2 (35 คะแนน) ส่วนที่ 3 (30 คะแนน) • ผลงานตามผลผลิต/โครงการ • ผลการใช้จ่ายงบประมาณ และการจัดทำต้นทุนต่อหน่วย • การบริหารจัดการข้อมูล, การจัดทำฐานข้อมูลงานส่งเสริมฯ และการพัฒนาระบบงานรองรับภารกิจกรมฯ • ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและการวัดผลงานตามกระบวนการของ PART, PMQA, VFM PART : การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ PMQA : การพัฒนาคุณภาพการจัดการภาครัฐ VFM : ความคุ้มค่าของการปฏิบัติภารกิจจากการเบิกจ่ายงบประมาณ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  3. ที่ 2 : สสจ. ลำปาง ได้ 74.33 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 8 ที่ 4 : สสจ. สระบุรี ผลประเมินการปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ผ่านเกณฑ์วัดผลระดับดีเด่น (มีคะแนนประเมินตั้งแต่ 70 คะแนนขึ้นไป) จำนวน 5 หน่วยงาน คือ ได้ 78.91 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 1 ที่ 1 : สสจ. ลพบุรี ได้ 76.11 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 4 ได้ 74.71 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 7 ที่ 3 : สสพ. 1 ได้ 70.40 คะแนน ในปี 2552 ได้ที่ 5 ที่ 5 : สสจ. อุตรดิตถ์ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  4. เกณฑ์ประเมินผลปี 2553 รวม 3 ส่วน 100 คะแนน • วัดผลเรื่อง การปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ (1 ต.ค. 52 – 30 มิ.ย. 53) ระดับ ดี (10 หน่วยงาน) ระดับ พอใช้ (20 หน่วยงาน) • สสจ. ร้อยเอ็ด • สสจ. ราชบุรี • สสจ. อำนาจเจริญ • สสจ. ชลบุรี • สสจ. นครสวรรค์ • สสจ. ปราจีนบุรี • สสจ. นครศรีธรรมราช • สสจ. ตาก • สสจ. สระแก้ว • - สสจ. บุรีรัมย์ • สสจ. สิงห์บุรี • สสจ. พิษณุโลก • สสจ. ปัตตานี • สสจ. นครนายก • สสจ. ปทุมธานี • สสจ. ฉะเชิงเทรา • สสจ. นครพนม • สสจ. ลำพูน • สสจ. จันทบุรี • - สสจ. สกลนคร • สสจ. นครราชสีมา • สสจ. อ่างทอง • สสจ. กาญจนบุรี • สสพ. 2 • สสจ. สมุทรสงคราม • สสจ. ระยอง • สสจ. สุรินทร์ • สสจ. สุราษฎร์ธานี • สสจ. เชียงใหม่ • - สสจ. เลย ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  5. เกณฑ์ประเมินผลปี 2553 รวม 3 ส่วน 100 คะแนน • วัดผลเรื่อง การปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ (1 ต.ค. 52 – 30 มิ.ย. 53) ระดับ ปรับปรุง (37 หน่วยงาน) • สสจ. พังงา • สสจ. กระบี่ • สสจ. ยโสธร • สสจ. พะเยา • สสจ. สุพรรณบุรี • สสจ. นนทบุรี • สสจ. สมุทรสาคร • สสจ. หนองคาย • สสจ. เพชรบุรี • สสจ. ระนอง • - สสจ. ภูเก็ต • สสจ.ชุมพร • สสจ. มุกดาหาร • สสจ. แพร่ • สสจ. น่าน • สสจ. กำแพงเพชร • สสจ. พิจิตร • สสจ. มหาสารคาม • สสจ. พระนครศรีอยุธยา • สสจ. สงขลา • สสจ. ขอนแก่น • - สสจ. สตูล • สสจ. ศรีสะเกษ • สสจ. อุทัยธานี • - สสจ. ชัยภูมิ • สสจ. อุบลราชธานี • สสจ. ตรัง • สสจ. ยะลา • สสจ. อุดรธานี • สสจ. นครปฐม • สสจ. ประจวบคีรีขันธ์ • สสจ. เพชรบูรณ์ • สสจ. นราธิวาส • สสจ. หนองบัวลำภู • - สสจ. แม่ฮ่องสอน • สสจ. ชัยนาท • สสจ. เชียงราย ระดับ ปรับปรุงเร่งด่วน (5 หน่วยงาน) • สสจ. สมุทรปราการ • สสจ. ตราด • สสจ. พัทลุง • สสจ. สุโขทัย • สสจ. กาฬสินธุ์ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  6. ได้ 25 คะแนนขึ้นไปจำนวน 5 หน่วยงาน (สูงสุด 26.10 คะแนน) ระดับ ดี (ร้อยละ 6.5) ระดับ พอใช้ (ร้อยละ 22) ได้ 23 คะแนนขึ้นไป จำนวน 17 หน่วยงาน ได้ 20 คะแนนขึ้นไปจำนวน 30 หน่วยงาน ระดับ ปรับปรุง (ร้อยละ 39) ได้ 13 คะแนนขึ้นไปจำนวน 25 หน่วยงาน (ต่ำสุด 13.05 คะแนน) ระดับ เร่งปรับปรุง (ร้อยละ 32.5) ผลประเมินการปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ส่วนที่ 1 : ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ (เต็ม 35 คะแนน) สรุป : ร้อยละ 90 หน่วยงานปฏิบัติงาน/โครงการเสร็จตามแผนฯ แต่ผลของงานไม่สะท้อนคุณภาพเท่าที่ควร ทั้งในด้านผลผลิตและผลลัพธ์ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  7. ตัวอย่างงานที่ควรปรับปรุงจากข้อมูลประเมินส่วนที่ 1 1. กำหนดแผนงานไม่สอดคล้องกับปริมาณงาน/ลักษณะงานในพื้นที่ 2. รายงานผลงานส่งเสริมฯ ไม่สามารถสะท้อนเนื้องานจริงๆ ที่ จนท. ได้เข้าปฏิบัติงาน หรือ ติดตาม/แก้ไขปัญหาได้ชัดเจน 3. รายงานตรวจการไม่สะท้อนคุณภาพของการตรวจ/ติดตาม/สั่งการจากนายทะเบียน ทั้งในกรณีสหกรณ์ปกติและไม่ปกติ 4. กำหนด Action Plan ปฏิบัติงานส่งเสริมฯ เพียง 9 -10 เดือน เท่านั้น 5. การรายงานผลงาน/โครงการไม่สะท้อนข้อมูลปัญหาหรือข้อเท็จจริงของงาน/โครงการในพื้นที่ที่นำไปสู่การปรับปรุง/แก้ไขงานตามผลผลิต/โครงการได้เท่าที่ควร โดยเฉพาะงานสำคัญ/งานนโยบายเร่งด่วน/งานบูรณาการของกระทรวงฯ 6. กลุ่มงานฯ ไม่สามารถสนับสนุน/ช่วยเหลืองานส่งเสริมฯ ทางด้านข้อมูล, งานแก้ปัญหา และงานวิชาการได้ตามภารกิจที่ควรจะดำเนินการ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  8. ได้ 25 คะแนนขึ้นไปจำนวน 11 หน่วยงาน (สูงสุด 29.61 คะแนน) ระดับ ดี (ร้อยละ 14.30) ระดับ พอใช้ (ร้อยละ 36.30) ได้ 21 คะแนนขึ้นไป จำนวน 28 หน่วยงาน ได้ 18 คะแนนขึ้นไปจำนวน 24 หน่วยงาน ระดับ ปรับปรุง (ร้อยละ 31.20) ได้ 10 คะแนนขึ้นไปจำนวน 14 หน่วยงาน (ต่ำสุด 10.65 คะแนน) ระดับ เร่งปรับปรุง (ร้อยละ 18.20) ผลประเมินการปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ส่วนที่ 2 : ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามกระบวนการที่ PART, PMQA, VFM กำหนด(เต็ม 35 คะแนน) สรุป : ส่วนใหญ่หน่วยงานยังไม่มีกระบวนการบริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ และแสดงความคุ้มค่าของการใช้จ่ายงบประมาณได้ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  9. ตัวอย่างงานจากข้อมูลประเมินส่วนที่ 2 • การจัดทำรายงานผลการใช้จ่าย ส่วนใหญ่ไม่มีการจัดทำในภาพสรุปของผลผลิต กิจกรรมหลัก และรายอำเภอ รวมทั้งไม่มีการแยกประเภทของงบให้ชัดเจน หรือไม่มียอดสรุปผล ทำให้ • ไม่มีฐานข้อมูลผลการใช้จ่ายรองรับในการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตและกิจกรรมเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการบริหารงบประมาณของหน่วยงานได้ชัดเจน ทั้งในกรณี ติดตามเร่งรัดการเบิกจ่าย และเป็นข้อมูลจัดทำต้นทุนของแต่ละกิจกรรมเพื่อใช้ในการประเมินรายบุคคลและจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมกับปริมาณงานได้ • 2. บุคลากรส่วนใหญ่ไม่เข้าใจการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์, ตัวชี้วัด และกระบวนงานว่ามีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร แล้วจะทำงานส่งผลสำเร็จถึงกลุ่มเป้าหมายในระดับผลผลิต, ผลลัพธ์, ผลกระทบ (ทั้งที่เป็นรูปธรรม/นามธรรม ต่อสังคม-เศรษฐกิจในพื้นที่) ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  10. ตัวอย่างงานจากข้อมูลประเมินส่วนที่ 2 (ต่อ) 3. การรายงาน และการจัดทำข้อมูลต่าง ๆ แสดงผลเพียงแค่งานเสร็จ แต่ไม่มีข้อมูลใดที่แสดงให้เห็นถึงความสำเร็จ/ประโยชน์ของงานตามภารกิจ หรือตามวัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ นั้น ๆ โดยเป็นผลจากงานที่ ทำเสร็จ (สรุปว่า ได้ผลงานเชิงปริมาณ แต่ไม่ได้ผลงานเชิงคุณภาพ) 4. ร้อยละ 65 ของข้อมูลและเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ ไม่ได้เกิดจากกระบวนงานที่ทำแล้วใช้ประโยชน์ได้จริง แต่ทำเพื่อส่งประเมินผล จึงเป็นการเพิ่มภาระงาน สิ้นเปลืองทรัพยากร และไม่สามารถใช้อธิบายเป็นตัวอย่างส่งประเมินตนเองให้หน่วยงานภายนอกได้ เนื่องจากข้อมูล/เอกสารไม่สัมพันธ์กับผลงานที่เกิดขึ้น ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  11. ตัวอย่างงานจากข้อมูลประเมินส่วนที่ 2 (ต่อ) 5. แผนงาน/โครงการต่าง ๆ บุคลากรทั้งส่วนกลาง/ส่วนภูมิภาคยังไม่สามารถทำความเข้าใจร่วมกันว่า วัตถุประสงค์และผลสำเร็จของงานที่ต้องการให้เกิดขึ้นคืออะไร ทำให้การใช้จ่ายงบประมาณจึงไม่บรรลุประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน ส่วนใหญ่เป็นการเบิกจ่ายงบประมาณได้ตามจำนวนร้อยละที่กรมฯ กำหนดเท่านั้นแต่ไม่สอดคล้องกับผลงานที่เกิดขึ้น 6. ร้อยละ 15 ของหน่วยงาน มีการปฏิบัติภารกิจภายในหน่วยงานที่ค่อนข้างเป็นระบบ และเข้าใจกระบวนการบริหารงบประมาณให้เกิดประสิทธิภาพ โดยหน่วยงานอีกร้อยละ 85 มีการกำหนดแผนปฏิบัติงานและการปฏิบัติงานในภาพรวมของแต่ละหน่วยงาน ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย (สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร) ที่หน่วยงานต้องรับผิดชอบทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ส่งผลให้ผลงานในภาพรวมของกรมฯ ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามผลผลิตที่กำหนดไว้ในเอกสารงบประมาณ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  12. ได้ 19 คะแนนขึ้นไปจำนวน 8 หน่วยงาน (สูงสุด 23.99 คะแนน) ระดับ ดี (ร้อยละ 10.40) ระดับ พอใช้ (ร้อยละ 36.35) ได้ 17 คะแนนขึ้นไป จำนวน 28 หน่วยงาน ได้ 15 คะแนนขึ้นไปจำนวน 28 หน่วยงาน ระดับ ปรับปรุง (ร้อยละ 36.35) ได้ 9 คะแนนขึ้นไปจำนวน 13 หน่วยงาน (ต่ำสุด 9.43 คะแนน) ระดับ เร่งปรับปรุง (ร้อยละ 16.90) ผลประเมินการปฏิบัติงานและระบบการบริหารจัดการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ส่วนที่ 3 : การบริหารจัดการข้อมูล และการพัฒนาระบบงาน รองรับภารกิจกรมฯ(เต็ม 30 คะแนน) สรุป : ร้อยละ 90 ของหน่วยงานยังไม่มีการจัดทำฐานข้อมูล/สารสนเทศของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรรองรับภารกิจงานส่งเสริมฯ ในทุกระดับ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  13. ตัวอย่างงานจากข้อมูลประเมินส่วนที่ 3 1. การจัดทำรายงาน/ข้อมูล และเอกสารอ้างอิงต่างๆ ส่วนใหญ่ส่งล่าช้า และส่งไม่ครบ หรือไม่ส่งตามช่องทางการสื่อสารที่กรมฯ กำหนด รวมถึงบางส่วนขาดการตรวจสอบความถูกต้อง ส่งผลให้การวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของงาน/โครงการคลาดเคลื่อน 2. ฐานข้อมูลสำคัญๆ เช่น ข้อมูลสมาชิก, ข้อมูลผลผลิต, ข้อมูลการดำเนินงาน/ธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร หลายหน่วยงานไม่ได้ดำเนินการรวบรวม/จัดเก็บอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การกำหนดแผนงานส่งเสริมฯ ไม่สอดคล้องกับข้อมูล, ปัญหา และความต้องการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3. ร้อยละ 35 ของหน่วยงานจัดทำข้อมูลรายงานผลงาน/โครงการส่งให้กผง. และสำนักฯ ไม่ตรงกันหรือคลาดเคลื่อนไปจาก Action Plan ที่กำหนด โดยไม่แจ้งเหตุผล หรือข้อจำกัดในระดับพื้นที่ให้ทราบ ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  14. งานส่งเสริมฯ งานตรวจการ บทวิเคราะห์งานส่งเสริมฯ จาก 3 กลุ่มงาน งานของสสจ. /สสพ.ที่ผ่านเกณฑ์วัดผล จากผลประเมินปี 2553 สสจ. อุตรดิตถ์, ลำปาง, ร้อยเอ็ด, สกลนคร, ลพบุรี, สระบุรี, นครสวรรค์, นครศรีธรรมราช, ตรัง, สุราษฎ์ธานี, สสพ. 1 และอำนาจเจริญ สสพ. 2, สสจ. อุตรดิตถ์, นครสวรรค์, สกลนคร, ประจวบคีรีขันธ์, เชียงใหม่, นครปฐม, กาฬสินธุ์, และลพบุรี สสจ. แม่ฮองสอน, สระบุรี, สสพ. 1, นครศรีธรรมราช, สกลนคร, นครสวรรค์, ราชบุรี, ชลบุรี, พิจิตร และลำพูน ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  15. ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ การจัดทำรายงานผลการใช้จ่าย+ต้นทุนต่อหน่วย การบันทึกรายงานการประชุมของหน่วยงาน งานของสสจ. /สสพ.ที่ผ่านเกณฑ์วัดผล จากผลประเมินปี 2553 สสจ. ราชบุรี, ชลบุรี, ตาก, อำนาจเจริญ, สสพ. 2, นครราชสีมา, อยุธยา และชัยนาท สสจ. สระบุรี, ลพบุรี, ลำปาง, ปทุมธานี, สสพ. 2, พิษณุโลก และปัตตานี สสจ. ลพบุรี, สระบุรี, สสพ. 1, สงขลา, ลำปาง, สระแก้ว, บุรีรัมย์ และชลบุรี ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  16. การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ถึงรายบุคคลการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ถึงรายบุคคล การจัดทำรายงานผลการใช้จ่าย+ต้นทุนต่อหน่วย การสรุปเล่มผลงานประจำปีของหน่วยงาน งานของสสจ. /สสพ.ที่ผ่านเกณฑ์วัดผล จากผลประเมินปี 2553 สสจ. ลพบุรี, ชลบุรี, ลำปาง, สระบุรี และปทุมธานี สสจ. สระบุรี, ลพบุรี, ลำปาง, ปทุมธานี, สสพ. 2, พิษณุโลก และปัตตานี สสจ. ลพบุรี, ลำปาง, ลำพูน, ปทุมธานี, ชัยนาท, สระบุรี และสมุทรสงคราม ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  17. การจัดทำข้อมูล-สารสนเทศการจัดทำข้อมูล-สารสนเทศ การจัดทำทะเบียนสรุปผลงาน+Action Plan งานของสสจ. /สสพ.ที่ผ่านเกณฑ์วัดผล จากผลประเมินปี 2553 สสจ. ลพบุรี, ชลบุรี, ลำปาง, สระบุรี, นครนายก, สกลนคร, บุรีรัมย์ และสสพ. 1 สสจ. ลพบุรี, เชียงใหม่, สสพ. 1, แพร่, ปราจีนบุรี, สกลนคร, ลำปาง, นครสวรรค์, นครศรีธรรมราช, หนองบัวลำพู และมุกดาหาร เป็นตัวอย่างที่หน่วยงานอื่นๆ สามารถพิจารณานำไปปรับใช้ได้ สำหรับรายละเอียดงานอื่นๆ เพิ่มเติม หากหน่วยงานใดสนใจ สอบถามข้อมูลได้ที่กผง. ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  18. - ความรู้/ความสามารถตามภารกิจที่จำเป็น - อัตรากำลัง/ความก้าวหน้าไม่เหมาะสม - ความรับผิดชอบ/จิตสำนึกต่อหน้าที่ • เกณฑ์จัดสรรงบประมาณไม่เหมาะสมกับปริมาณงาน, ผู้ปฏิบัติงาน และสภาพพื้นที่ • - การปรับลดงบประมาณระหว่างปี • ไม่มีโปรแกรมการรายงานผล, การจัดเก็บฐานข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศภายในหน่วยงานที่เป็นระบบ • - ขาดข้อมูลที่ใช้วางแผนงาน/โครงการต่างๆรองรับการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน-กรมฯ ปัญหาสำคัญของสสจ. และสสพ.ที่ต้องเร่งแก้ไข • ข้อมูลจาก 77 หน่วยงานที่ประเมินตนเองปี 2553 การพัฒนา/โครงสร้างบุคลากร 60 % 8 % การจัดสรรงบประมาณ 22 % 10 % ยานพาหนะ และคอมพิวเตอร์ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการรายงาน • รถไม่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และโครงสร้างอัตรากำลัง • - คอมฯ เก่า ชำรุด และมีน้อยไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  19. ส่งรายงานผลความก้าวหน้าของงาน/โครงการส่งรายงานผลความก้าวหน้าของงาน/โครงการ ตามแผนฯ (กิจกรรม/KPI) และงานนโยบายต่าง ๆ รูปแบบ/วิธีการ/เงื่อนเวลาการจัดเก็บข้อมูล และจัดทำรายงานผลตามแบบรายงานต่างๆ รวบรวม/ประมวล/สรุปผล และจัดเก็บข้อมูล แยกเป็นงาน/โครงการส่งสำนักที่รับผิดชอบหลัก แนวทางการรายงานผลงานปี 2554 กองแผนงาน เป็นการรายงานผลงานในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ (เชิงปริมาณ+คุณภาพ) ตามเอกสารงบประมาณ และยุทธศาสตร์ สำนัก/กอง/ศูนย์ (เป็นผู้ดำเนินการเอง) ภารกิจงานปี 54 ที่ สสจ./สสพ. ดำเนินการร่วมกับ สำนัก/กอง/ศูนย์ โดยตรง คือ 1. จัดทำคู่มือ, แนวทาง, วิธีปฏิบัติ, Action Plan ในภาพรวมของงาน 2. แบบรายงานผลงาน/โครงการต่างๆ 3. การติดตาม/แก้ไขปัญหา-อุปสรรค เป็นรายโครงการ 4. สรุปผลในภาพรวมของงาน/โครงการ ส่งให้ กผง. และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 5. ติดตามผลการปฏิบัติงาน และวิเคราะห์ข้อมูลผลงานในเชิงลึก เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนงาน/โครงการในระยะต่อไป ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  20. การดำเนินการต่อ ภายหลังจากประกาศผลประเมินฯ แล้ว คือ 1. หน่วยงานที่มีผลประเมินฯ ในกลุ่มระดับปรับปรุง และระดับปรับปรุงเร่งด่วนต้องจัดทำแผนงาน พร้อม Action Plan ของเรื่องและงานที่ต้องปรับปรุงแก้ไข เพื่อวางระบบการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับกระบวนการบริหารงบประมาณ ส่งถึง กผง. ภายในวันที่ 30 พ.ย. 53 (รายละเอียดตามหนังสือที่แจ้ง) 2. จัดทำรายงานสรุปผลงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ของหน่วยงาน ส่งถึง กผง. ภายในวันที่ 30 พ.ย. 53(รายละเอียดตามหนังสือที่แจ้ง) 3. การจัดสรรงบประมาณ สำหรับ 5 หน่วยงานลำดับต้น และ 5 หน่วยงานลำดับท้าย กผง. จะดำเนินการตามหลักเกณฑ์ที่ได้รับอนูมัติแล้ว (รายละเอียดตามหนังสือที่แจ้ง) * รายละเอียดของผลประเมินฯ กผง. จะเผยแพร่บนเว็บไซด์ของ กผง. และหน่วยงาน สามารถตรวจสอบรายละเอียดได้ที่กลุ่มติดตามและประเมินผล * • add Text • add Text • add Text • add Text • add Text • add Text • add Text • add Text • add Text ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

  21. เส้นทางนี้อีกยาวไกล แต่วันนี้เราเดินทางถูกทางแล้ว (หรือยัง) การหยุดนิ่ง คือ ความล้าหลัง ไม่มีใครถึงจุดหมายโดยไม่ออกแรง ก้าวเดิน ...เรามาเดินไปด้วยกันทั้งองค์กร (ที่มา: Website การจัดทำแผนพัฒนาองค์กร) ท่านรองฯ จิตรกร (30 ก.ย. 53) กลุ่มติดตามฯ กองแผนงาน

More Related