1 / 60

ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย

ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย. โดย ผศ.ดร.ศุภัช ศุภชลาศัย ผู้รักษาราชการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษา ความร่วมมือระหว่างประเทศ แห่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 9 ตุลาคม 2556. Outline. ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย Position ของประเทศไทยในโลก สิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจโลกกับเศรษฐกิจไทย

Download Presentation

ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทยภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย โดย ผศ.ดร.ศุภัช ศุภชลาศัย ผู้รักษาราชการในตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาความร่วมมือระหว่างประเทศ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 9 ตุลาคม 2556

  2. Outline • ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย • Position ของประเทศไทยในโลก • สิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจโลกกับเศรษฐกิจไทย • ประเทศไทยกับการเปิดเสรี (WTO และ FTAs) • ASEAN Economic Community (AEC)

  3. 1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย

  4. 1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย 1.1 เคยมีอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP Growth) สูง – ลดลงในช่วงเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ – เพิ่มขึ้นเมื่อเศรษฐกิจฟื้นตัว แต่ไม่เท่ากับในอดีต นอกจากนี้ เศรษฐกิจไทยและประเทศในอาเซียนมีความเชื่อมโยงกันสูง

  5. อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Real GDP Growth) ของไทย และประเทศ ASEAN (ปี 2522-2553) ที่มา : World Bank, World Development Indicators Database

  6. 1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย 1.2 โครงสร้างเศรษฐกิจไทยเปลี่ยนเป็นประเทศอุตสาหกรรม นานแล้ว ทั้ง GDP และการส่งออก ด้านการนำเข้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าทุนและวัตถุดิบเพื่อมาผลิตสินค้า แต่โครงสร้างการจ้างงานยังอยู่ในภาคเกษตร

  7. โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของไทยจำแนกตามภาคการผลิตระหว่าง ปี 2503-2553 (สัดส่วน : %) ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ไตรมาสที่ 1/2554

  8. โครงสร้างการส่งออกของไทยจำแนกตามหมวดสินค้าระหว่างปี 2523-2553 (%) ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  9. 1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย 1.3 เศรษฐกิจของประเทศไทยเน้นการพึ่งพาภาคระหว่างประเทศมาก • มีการเปิดประเทศสูง (High Degree of Openness) • ภาคการค้าต่างประเทศเป็นจักรกลสำคัญในการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ • คู่ค้าสำคัญของไทยคือประเทศพัฒนาแล้ว • กลุ่ม ASEAN เป็นตลาดที่มีความสำคัญสูงหลังมีเขตการค้าเสรี ปี 2536

  10. องศาการเปิดประเทศ (Degree of Openness) ที่มา : World Bank, World Development Indicators Database

  11. ตลาดส่งออกของประเทศไทยจำแนกตามตลาดส่งออกของประเทศไทยจำแนกตาม กลุ่มประเทศที่สำคัญ ระหว่างปี 2531-2553 (% share) ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  12. แหล่งนำเข้าของประเทศไทยจำแนกตามแหล่งนำเข้าของประเทศไทยจำแนกตาม กลุ่มประเทศที่สำคัญ ระหว่างปี 2531-2552 (% share) ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  13. ดุลการค้าของไทยกับประเทศคู่ค้าต่างๆ ระหว่างปี 2543-2553 (พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  14. 1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย • การลงทุนจากต่างประเทศเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งในด้านเสถียรภาพและเม็ดเงินลงทุน

  15. เงินทุนเคลื่อนย้ายมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยเงินทุนเคลื่อนย้ายมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทย ดุลการค้า = ส่งออก - นำเข้า ดุลบัญชีเดินสะพัด= ดุลการค้า + ดุลบริการ ดุลการชำระเงิน = ดุลบัญชีเดินสะพัด+ เงินทุนเคลื่อนย้าย

  16. ดุลการค้า ดุลบัญชีเดินสะพัด และดุลการชำระเงินของไทย ปี 2534 - 2553 (ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

  17. FDI Inflows, Global and by Group of Economies, 1980–2010 (Billions of dollars) ที่มา : UNCTAD, World Investment Report 2011, p.3

  18. FDI Inflows, Global and Selected Countries, 1980–2010 Source : UNCTAD, UNCTADstat, Foreign Direct Investment database

  19. 1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย 1.4 ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการคุ้มครองอุตสาหกรรมและภาคเกษตรสูง ประเทศไทยมีการคุ้มครองสูง เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ • ราคาสินค้าบริการสูง • เกิดการผูกขาดขึ้นในธุรกิจต่างๆ ทำให้ธุรกิจต่างๆ อ่อนแอ แข่งขันไม่ได้ • การใช้ทรัพยากรไม่มีประสิทธิภาพ • ภาคการผลิตอ่อนแอ

  20. Scope of Bindings (%) ที่มา : WTO, Statistics Database, Tariff Profiles 2011

  21. MFN Applied Duties on Agricultural Products in Selected Developed Countries in 2010 (Percentages) ที่มา : WTO, Statistics Database, Tariff Profiles 2011

  22. MFN Applied Duties on Nonagricultural Products in Selected Developed Countries in 2010 (Percentages) ที่มา : WTO, Statistics Database, Tariff Profiles 2011

  23. 2. Positioning ของประเทศไทย

  24. 2. Positioning ของประเทศไทย • ประเทศไทยเป็นประเทศขนาดเล็ก • GDP ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ สถานะประเทศเล็กในโลก • ส่วนแบ่งในตลาดการส่งออกของโลกน้อย (ประมาณ 1%) • ส่วนแบ่งตลาดสินค้าจากไทยในตลาดสำคัญ ได้แก่ สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป น้อย (ประมาณ 1%) • ไทยไม่ใช่ประเทศผู้นำในการส่งออกสินค้าเกษตร อาหาร และอุตสาหกรรมของโลก • ส่วนแบ่งใน FDI ของโลกลดน้อยลงเรื่อยๆ

  25. GDP ของไทย เปรียบเทียบกับ GDP ของประเทศต่างๆ ปี 2010 GDP ของไทยประมาณ GDP ของรัฐแมรี่แลนด์ ซึ่งอยู่ลำดับที่ 15

  26. GDP ของไทยประมาณ GDP ของมณฑล Hainan ซึ่งอยู่ลำดับที่ 6

  27. สถานภาพการส่งออกสินค้าของประเทศต่างๆ ในตลาดโลก(% Share in World Total Exports) ที่มา : WTO Statistics Database

  28. สัดส่วนการนำเข้าสินค้าจากไทยของตลาดส่งออกที่สำคัญ (% market share) ที่มา : United Nations Statistics Division, UN Comtrade Database

  29. Positioning ของประเทศไทยกับการค้าสินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมของโลก

  30. ประเทศผู้ส่งออกสินค้าเกษตร (Agricultural Products) ที่สำคัญของโลก ปี 2010 ที่มา : WTO statistics database

  31. ประเทศผู้ส่งออกสินค้าอาหารและเนื้อสัตว์(Food and Livestock Products) ที่สำคัญของโลก ปี 2009 ที่มา :FAO Statistics Division, FAOSTAT

  32. ประเทศผู้ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (Manufactures) ที่สำคัญของโลก ปี 2010 ที่มา : WTO Statistics Database

  33. 3. สิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจโลก

  34. Globalization • Production Networking เป็น Trend ของการผลิตสินค้าและบริการ • การเจรจา WTO ในรอบโดฮาคงจะประสบความสำเร็จได้ยาก ดังนั้นการเปิดเสรีจึงเป็นลักษณะของการรวมกลุ่มในภูมิภาคหรือเปิดเสรีสองฝ่าย (Bilateral FTA) • โลกมีแนวโน้มที่จะมีการรวมกลุ่มเป็นภูมิภาค • EU ขยายตัวเป็น 27 ประเทศ

  35. โลกมีแนวโน้มที่จะเปิดเสรีมากขึ้น โดยผ่านการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาค หรือ Bilateral FTA ซึ่งจะทำให้การเปิดตลาดนั้นเร็วขึ้นกว่าภายใต้ WTO และทำให้ประเทศที่ไม่มี Bilateral FTA เสียเปรียบประเทศที่มี Bilateral FTA • การเจรจา FTA ที่เป็น Bilateral นั้นมีจำนวนมาก เป็น Trend ของโลก (ขณะนี้มีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทุกชนิดในโลก 236 ความตกลง) • จีนและอินเดียเป็นเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก • ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำของโลกที่เกิดจากประเทศพัฒนาแล้ว US และ EU

  36. Cross Regional RTAs as of December 2006 Source : “The Changing Landscape of Regional Trade Agreements: 2006 Update”, WTO

  37. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการเจรจาการค้าการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการเจรจาการค้า

  38. ทำไม FTAs จึงมีจำนวนมากในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา? • การเจรจา WTO ล้มเหลว • การผลิตที่เป็น Production Network ต้องการเขตการค้าเสรี • ประเทศเล็กมีความจำเป็นต้องทำ FTA หากประเทศคู่แข่งมี FTA กับตลาดส่งออกที่สำคัญ จะทำให้เสียเปรียบ เนื่องจากประเทศคู่แข่งจะเสียภาษีนำเข้าต่ำกว่า

  39. ประเทศไทยกับการเปิดเสรีโดยผ่านกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่างๆประเทศไทยกับการเปิดเสรีโดยผ่านกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่างๆ • Multilateral (พหุภาคี) • WTO • ภูมิภาค (Regional) • AFTA (ASEAN Free Trade Area) • APEC (Asia-Pacific Economic Co-operation) • ASEM (Asia Europe Meeting) • อนุภูมิภาค (Sub-Regional) • BIMST-EC • GMS (Greater Mekong Subregion)

  40. ระดับ Bilateral Free Trade Agreement • North East Asia (ญี่ปุ่น - มีผลแล้ว) • South Hemisphere (ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ – มีผลแล้ว) • South Asia (อินเดีย – Early Harvest 82 รายการ – มีผลแล้ว, บิมสเทค - อยู่ระหว่างเจรจา) • America (สหรัฐฯ – หยุดการเจรจา, เปรู - หยุดการเจรจา) • Middle East (บาห์เรน - หยุดการเจรจา) • Europe (EFTA - ไม่คืบหน้า)

  41. FTAs ที่ทำภายใต้กรอบ ASEAN • ASEAN – จีน • ASEAN – สาธารณรัฐเกาหลี • ASEAN – ญี่ปุ่น • ASEAN – ออสเตรเลีย – นิวซีแลนด์ FTAs ที่ทำภายใต้กรอบ ASEAN ที่กำลังเจรจา • ASEAN – อินเดีย • ASEAN – EU

  42. ประเทศใน ASEAN ที่กำลังเจรจา Bilateral FTAs ที่สำคัญ • สิงคโปร์ มีข้อตกลง FTA กับประเทศต่างๆ มากที่สุดในกลุ่ม ASEAN • ที่ลงนามแล้ว (บางส่วนมีผลบังคับใช้แล้ว) : สหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน อินเดีย เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จอร์แดน ปานามา เปรู ESFTA (สวิตเซอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ และนอร์เวย์) Trans-Pacific SEP (บรูไน นิวซีแลนด์ ชิลี และสิงคโปร์) GCC (The Gulf Cooperation Council: บาห์เรน คูเวต โอมาน กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย และ UAE) และคอสตาริก้า • อยู่ระหว่างการเจรจา : แคนาดา เม็กซิโก ปากีสถาน และยูเครน ที่มา : www.fta.gov.sg

  43. มาเลเซีย • ที่ลงนามแล้ว (บางส่วนยังไม่มีผลบังคับ) : ญี่ปุ่น ปากีสถานนิวซีแลนด์ ชิลี • อยู่ระหว่างการเจรจา : สหรัฐฯ (ลงนามใน Trade and Investment Framework Agreement และอยู่ระหว่างการเจรจา FTA แต่ยังไม่คืบหน้า) ออสเตรเลีย, อินเดีย, เกาหลีใต้, ตุรกี, European Union, Trade Prefential System-Organisation of Islamic Conference(TPS-OIC) , Developing Eight (D-8) Preferential Tariff Agreement – บังคลาเทศ อินโดนีเซีย อิหร่าน มาเลเซีย อียิปต์ ไนจีเรีย ปากีสถาน และ, Trans-Pacific Partnership Agreement (TPP) - ออสเตรเลีย บรูไน ชิลี มาเลเซีย นิวซีแลนด์ เปรู สิงคโปร์ สหรัฐฯ และเวียดนาม ที่มา : www.miti.gov.my

  44. อินโดนีเซีย • ญี่ปุ่น (มีผลแล้ว) (ที่มา : www.mofa.go.jp/region/asia-paci/indonesia/epa0708/index.html) • สหรัฐอเมริกา (ลงนามใน Trade and Investment Framework Agreement) (ที่มา : Office of the US Trade Representative) • อยู่ระหว่างการเจรจากับหลายประเทศ เช่น EU ออสเตรเลีย ชิลี อียิปต์ ตุรกี อินเดีย เป็นต้น (ที่มา : www.bilaterals.org) • ฟิลิปปินส์ • ญี่ปุ่น (มีผลแล้ว) (ที่มา : www.bilaterals.org) • สหรัฐฯ (ลงนามใน Trade and Investment Framework Agreement และฟิลิปปินส์ต้องการเจรจา FTA ต่อ) (ที่มา : Office of the US Trade Representative และ www.bilaterals.org)

  45. เวียดนาม • ลงนาม Trade and Investment Framework Agreement กับสหรัฐอเมริกาและต้องการเจรจา FTA ต่อ รวมทั้งเริ่มเจรจา Vietnam-US Bilateral Investment Treaty (BIT) (ที่มา : www.bilaterals.org) • ลงนาม Economic Partnership Agreement (EPA) กับญี่ปุ่น (ที่มา : www.mofa.go.jp/policy/economy/fta/index.html) • อยู่ระหว่างการเจรจากับ EU เพื่อจัดทำ Vietnam-EU Partnership and Cooperation Agreement ฉบับใหม่ (ที่มา : AFP, November 25, 2007) • อยู่ระหว่างการเจรจากับชิลี

  46. ระดับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

  47. ASEAN Free Trade Area(AFTA)

  48. ASEAN Free Trade Area (AFTA) • การตั้ง AFTA เป็นความคิดริเริ่มจากประเทศไทย (1992) • วัตถุประสงค์หลักของ AFTA คือ ต้องการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ (ในช่วงนั้นจีนเปิดประเทศใหม่ๆ) • ต้องการให้อาเซียนเป็นฐานการผลิตเพื่อส่งออกไปประเทศที่สาม

  49. Schedule of Common Effective Preferential Tariff • Fast track product: Tariffs 0-5% by the year 2000 • Normal track product: Tariffs 0-5% by the year 2003 • Sensitive product: Tariffs 0-5% by the year 2010 • Almost full liberalization by 2010

  50. ASEAN Economic Community(AEC)

More Related