1 / 29

ความหมายกองทุนสุขภาพ

ความหมายกองทุนสุขภาพ.

tiger
Download Presentation

ความหมายกองทุนสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความหมายกองทุนสุขภาพ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น หรือ กองทุนสุขภาพตำบล หมายถึง กองทุนที่เกิดจากความร่วมมือ ของ สปสช. อบต. หรือเทศบาล และภาคีต่าง ๆ ในชุมชน เพื่อดำเนินกิจกรรม เกี่ยวกับการส่งเสริม และการป้องกันโรค ให้กับประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง

  2. ประวัติความเป็นมา การดำเนินงาน กองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ มีประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ให้ อบต. หรือเทศบาลดำเนินงาน และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เมื่อวันที่ 28มิถุนายน 2549 ในปีแรก มีอบต.และเทศบาลนำร่อง รวม 888 แห่ง จนถึง ปีพ.ศ 2553 เพิ่มขึ้นเป็น 5,520 แห่ง คิดเป็นร้อยละ71ของจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดของประเทศ

  3. การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ระยะที่ 1 พ.ศ. 2549-2550 อบต.หรือเทศบาลนำร่องทั่วประเทศ ระยะที่ 2 พ.ศ.2551-2552 อบต.หรือเทศบาลที่มีความพร้อม ระยะที่ 3 ตั้งแต่ พ.ศ. 2553 อบต.หรือเทศบาลนี่ผ่านการประเมิน

  4. ระยะดำเนินการกองทุนสุขภาพ เทศบาลเมืองกันตัง สมัครเข้าร่วมโครงการ ระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ใน ปี พ.ศ. 2551 และลงนามบันทึกตามข้อตกลงที่ 062/2551 กับ สปสช. เขตพื้นที่ (สงขลา) เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2551

  5. วัตถุประสงค์กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพฯวัตถุประสงค์กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพฯ 1. เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้น การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลในระดับปฐมภูมิ 2. เพื่อส่งเสริม กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มป่วยเรื้อรังในเขตพื้นที่ ให้เข้าถึงระบบบริการสาธารณสุข

  6. วัตถุประสงค์กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพฯวัตถุประสงค์กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพฯ 3. เพื่อสนับสนุน ค่าใช้จ่าย แก่กลุ่มประชาชน หรือ องค์กรชุมชน จัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพ แก่ประชาชนในพื้นที่ 4. เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหาร/พัฒนากองทุนระบบหลักประกันสุขภาพฯ ให้มีประสิทธิภาพ แต่ไม่เกิน ร้อยละ 10 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของกองทุนฯ

  7. ที่มาของเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพฯที่มาของเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ • เงินค่าบริการสาธารณสุข ที่ได้รับสนับสนุนจาก สปสช. • เงินสมทบจากประชาชน ชุมชนหรือกองทุนอื่น ๆ • รายได้อื่น ๆ หรือทรัพย์สินที่ได้รับมาในกิจการของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพฯ

  8. เงินสมทบ จาก อบต. เทศบาล หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ตามสัดส่วน ดังนี้ เงินสมทบของ อบต.หรือเทศบาลขนาดใหญ่ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รับจาก สปสช. เงินสมทบของ อบต. หรือเทศบาลขนาดกลาง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รับจาก สปสช. เงินสมทบของ อบต.หรือเทศบาลขนาดเล็ก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ของค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รับจาก สปสช.

  9. คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ประกอบด้วย 1. ผอ. โรงพยาบาล 1 คน ที่ปรึกษา 2. สาธารณสุขอำเภอ 1 คน ที่ปรึกษา 3. นายกอบต.หรือนายกเทศมนตรี 1 คน ประธานกรรมการ 4. ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน รองประธาน 5. สมาชิกอบต./สท.ที่สภามอบหมาย 2 คน กรรมการ 6. หัวหน้าหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ทุกแห่ง กรรมการ

  10. คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ประกอบด้วย 7. อสม. ในพื้นที่คัดเลือกกันเอง 2 คน กรรมการ 8. ผู้แทนชุมชน ในพื้นที่คัดเลือกกันเอง 5 คน กรรมการ 9. ผู้ประสานงานหลักประกันสุขภาพ 1 คน กรรมการ ประชาชน (ถ้ามี) 10. ปลัดอบต.หรือปลัดเทศบาล 1 คน กรรมการและเลขานุการ หมายเหตุ : มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 2 ปี นับจากวันที่ สปสช. ออกคำสั่งแต่งตั้ง

  11. รายชื่อคณะกรรมการกองทุนสุขภาพ 1.นายสมเกียรติ ภาษีทวีเกียรติ นายกเทศมนตรี ประธานกรรมการ 2.นายไชยา วีระกุล ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ รองประธานคนที่ 1 3.น.ส.พรภิรมย์ ฤทธิสรไกร ข้าราชการบำนาญ รองประธานคนที่ 2 4.นายประเดื่อง นาคพล สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการ 5.นายมารุต สุขะเกตุ สมาชิกสภาเทศบาล กรรมการ 6.นางโสภาพร เสน่หา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กรรมการ 7.นางสุพรรณนิกา ลีลาสำราญ พยาบาลวิชาชีพ 7 วช. กรรมการ 8.นางวิยะดา นาคพน ผู้แทน อสม. กรรมการ 9.นางมิ่งขวัญ เท่งฮะ ผู้แทน อสม. กรรมการ 10.น.ส.พรพิมล กลั่นฉาย ประธานชุมชนตรอกลิเก กรรมการ 11.นางปราณี ไกรว่อง กรรมการชุมชนป่ามะพร้าว กรรมการ 12.นางสมใจ นาคนุ่น กรรมการชุมชนหลัง ร.ร. คลองภาษี กรรมการ 13.นายปกิต ยอดสนิท กรรมการชุมชนโรงพยาบาล กรรมการ 14.นายวิรุฬห์ เดชประมวลพล กรรมการชุมชนหลาโป กรรมการ 15.นาคาถา นิตย์จำรูญ ปลัดเทศบาล กรรมการและเลขานุการ

  12. การพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการการพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการ 1. ตาย 2. ลาออก 3. ย้ายไปดำรงตำแหน่งหรือประกอบวิชาชีพในพื้นที่อื่น 4. เป็นเป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ 5. เป็นบุคคลล้มละลาย

  13. อำนาจหน้าที่คณะกรรมการบริหารกองทุนฯอำนาจหน้าที่คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ • บริหารจัดการกองทุนฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ • รับผิดชอบการรับเงิน จ่ายเงิน เก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีตามที่ สปสช.กำหนด • ดำเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เข้าถึงบริการสาธารณสุข ที่บ้าน ในชุมชนอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ • จัดทำข้อมูล แผนการดำเนินงาน เกี่ยวกับปัญหาสาธารณสุขในชุมชน • จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับ จ่าย และเงินคงเหลือ เมื่อสิ้นปีงบประมาณ เสนอ สปสช. • แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงาน เพื่อดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง

  14. แนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ฯ หลักการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ : 1. มีคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ซึ่ง สปสช.ออกคำสั่งแต่งตั้ง 2. เงินกองทุนฯ ต้องประกอบด้วย เงินค่าบริการสาธารณสุขจาก สปสช. และ เงินสมทบ จากอบต. หรือเทศบาล 3. มีแผนงานหรือโครงการที่ครอบคลุมกิจกรรมทั้ง 4 ประเภท 4. มีระบบรายงานกองทุนฯ ผ่านโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯ

  15. 1. กิจกรรมการจัดบริการสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ 20% 2. กิจกรรมสนับสนุนงบประมาณหน่วยบริการ สาธารณสุข 30% ลักษณะกิจกรรมที่จะขอสนับสนุนงบประมาณกองทุนฯ 3. กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่น 40% 4. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกรรมการ/พัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนฯ 10%

  16. การจัดบริการ สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ การจัดบริการสำหรับกลุ่มแม่และเด็ก 1 กลุ่มเด็กแรกเกิด-ต่ำกว่า 6 ปี กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ - ติดตาม ค้นหา กลุ่มเสี่ยง - เยี่ยมบ้านก่อน/หลังคลอด - ให้สุขศึกษาในชุมชน/ร.ร. - ประเมินภาวะโภชนาการ - บริการซักประวัติ ประเมินพฤติ กรรมสุขภาพ ตรวจร่างกาย - ประเมินพัฒนาการเด็ก - ประเมินภาวะโภชนาการ

  17. การจัดบริการสำหรับกลุ่มเด็กโตการจัดบริการสำหรับกลุ่มเด็กโต อายุ 6 ปี ถึงต่ำกว่า 25 ปี 2 - ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ตรวจร่างกาย - สนับสนุนกิจกรรมป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด - สนับสนุนกิจกรรมออกกำลังกาย เช่น อบรมผู้นำออกกำลังกาย - ป้องกัน แก้ไขปัญหา เรื่องเอดส์ เพศศึกษา รักในวัยเรียน สื่อลามกอนาจาร - จัดกิจกรรมส่งเสริมกระตุ้น EQ - สนับสนุนโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เด็กไทยทำได้ - การควบคุมป้องกันโรค

  18. การจัดบริการสำหรับกลุ่มผู้ใหญ่การจัดบริการสำหรับกลุ่มผู้ใหญ่ อายุ 25 ปีขึ้นไป 3 - ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ตรวจร่างกาย วัดดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว/สะโพก - คัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม - กิจกรรมป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - คัดกรอง และป้องกันภาวะซึมเศร้า - คัดกรอง โรคความดัน โรคเบาหวาน - การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก - ค้นหา และคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด

  19. การจัดบริการสำหรับกลุ่มผู้พิการการจัดบริการสำหรับกลุ่มผู้พิการ และทุพพลภาพ 4 - ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ตรวจร่างกาย - ให้บริการเยี่ยมบ้าน - ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน - ค้นหา และส่งต่อคนพิการให้ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ

  20. กระบวนการพิจารณาอนุมัติกระบวนการพิจารณาอนุมัติ การของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพฯ คณะอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการ แผนสุขภาพชุมชน แผนงาน/โครงการ คณะกรรมการ อนุมัติโครงการ 1.ดำเนินการ 3.รายงานผล 2.ประเมินผล

  21. ที่มาของแผนสุขภาพ ประชาคม นโยบายสุขภาพ แผนสุขภาพท้องถิ่น สภาพปัญหาในพื้นที่ หน่วยงานสาธารณสุข กลุ่มองค์กรภาคี

  22. สรุปการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ ปีงบประมาณ 2552 1. การจัดซื้อบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ 1. โครงการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในเขตเทศบาล งบประมาณ 103,140 บาท 2. โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 งบประมาณ 62,256.24 บาท รวมเป็นเงิน 165,396.24 บาท

  23. 2. การสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุข 1. โครงการสนับสนุนการพัฒนาสาธารณสุขเชิงรุก งบประมาณ 90,961.27 บาท 2. โครงการกำจัดหนูในตลาดสดเทศบาลเมืองกันตัง งบประมาณ 6,000 บาท 3. โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า งบประมาณ 35,250 บาท 4. โครงการพัฒนาศักยภาพพนักงานจ้างกองทุนฯ งบประมาณ 4,590 บาท รวมเป็นเงิน 136,801.27 บาท

  24. 3.การสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่น3.การสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่น 1. โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ งบประมาณ 20,000 บาท 2. โครงการแอโรบิคดานซ์ เพื่อสุขภาพชาวกันตัง งบประมาณ 30,000 บาท 3. โครงการชาวชุมชนสุขภาพดีถ้วนหน้าด้วยการออกกำลังกาย งบประมาณ 30,000 บาท 4. โครงการสร้างสุขภาพชาวชุมชนป่าไม้ ด้วยแอโรบิคแดนซ์ งบประมาณ 20,000 บาท 5. โครงการชาวชมรมร่วมใจ ห่างไกลโรค ห่างไกลพุง งบประมาณ 30,000 บาท 6. โครงการชุมชนร่วมใจ ใส่ใจสุขภาพ ด้วยการออกกำลังกาย งบประมาณ 30,000 บาท 7. โครงการสร้างสุขภาพสร้างสุขด้วยการออกกำลังกาย งบประมาณ 30,000 บาท รวมเป็นเงิน 190,000 บาท

  25. 4. การบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบบริหารจัดการ 1. ประชุมคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่ 4/ปีงบ 2552 2. ประชุมคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่5/ปีงบ 2552 3. ค่าจัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน 4.ประชุมคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่2/ปีงบ 2552 5.ประชุมคณะอนุกรรมการบริหารระบบหลัดประกันสุขภาพฯ ครั้งที่1/ปีงบ 2552 6.ประชุมคณะอนุกรรมการระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่5/ปีงบ 2552 7.ประชุมคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่1/ปีงบ 2552 8. ค่าจัดจ้างถ่ายเอกสาร

  26. 4. การบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาระบบบริหารจัดการ 9.ประชุมคณะอนุกรรมการระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่ 4/ปีงบ 2552 10.ประชุมคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่ 3/ปีงบ 2552 11.ประชุมคณะกรรมการบริหารระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่ 6/ปีงบ 2552 12.ประชุมคณะอนุกรรมการระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่ 2/ปีงบ 2552 13.ค่าจัดซื้อวัสดุตรายาง 14.ค่าจัดจ้างถ่ายเอกสาร 19 พ.ย. 2551 ถึง 09 ธ.ค. 2551 15. ประชุมคณะ อนุกรรมการระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่6/ปีงบ 2552 16.ประชุมอนุกรรมการระบบหลักประกันสุขภาพฯ ครั้งที่ 3/ปีงบ2552 รวมเป็นเงิน 27,972.45 บาท

  27. งบประมาณที่ใช้ในการดำเนินการ ปีงบประมาณ 2552 เป็นเงินทั้งสิ้น 520,169.96 บาท

  28. สวัสดี

More Related