320 likes | 630 Views
โรคในระบบทางเดินหายใจ. อาการของโรคในระบบทางเดินหายใจในสุกรแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ 1. อาการที่เกิดขึ้นในส่วนจมูก 2. อาการปอดอักเสบ 3. อาการเยื่อหุ้มปอดอักเสบ. โรคโพรงจมูกอักเสบ (Atrophic rhinitis). สาเหตุ
E N D
โรคในระบบทางเดินหายใจโรคในระบบทางเดินหายใจ • อาการของโรคในระบบทางเดินหายใจในสุกรแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ • 1. อาการที่เกิดขึ้นในส่วนจมูก • 2. อาการปอดอักเสบ • 3. อาการเยื่อหุ้มปอดอักเสบ โรคในระบบทางเดินหายใจ
โรคโพรงจมูกอักเสบ (Atrophic rhinitis) สาเหตุ • สาเหตุปฐมภูมิ เกิดจากแบคทีเรียชนิด Bordetella bronchiseptica ทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุจมูกและทำให้เกิดสาเหตุทุติยภูมิตามมา • สาเหตุทุติยภูมิ เกิดจากแบคทีเรียชนิด Pasteurella multocida type D จะรวมกลุ่มกัน ผลิตท๊อกซินที่ซ้ำเติมทำให้โพรงจมูกอักเสบอย่างรุนแรง โรคโพรงจมูกอักเสบ
การติดต่อ 1. การไอหรือจาม 2. จากแม่สู่ลูก (เฉพาะสาเหตุปฐมภูมิ) • การติดเชื้อจะติดตั้งแต่สุกรยังอายุน้อยซึ่งอาจจะพบว่าสัตว์ไอหรือจามบ้าง แต่อาการจมูกบิดเบี้ยวจะปรากฏให้เห็นเฉพาะในช่วงขุน โรคโพรงจมูกอักเสบ
อาการ • ท๊อกซินของเชื้อจะทำลายกระดูกทำให้เกิดการฝ่อของกระดูกเทอร์บิเนตซึ่งอยู่ในโพรงจมูก ทำให้เกิดการบิดเบี้ยวของหน้า เนื่องจากหน้าหดสั้นลงและแนวสันจมูกเบี้ยว ในบางรายพบร่องน้ำตาอุดตัน ทำให้มีรอยคราบน้ำตาผสมกับสิ่งสกปรกเป็นทางสีดำ อาจมีเลือดกำเดาไหลออกทางจมูก โรคโพรงจมูกอักเสบ
ร่องน้ำตาอุดตัน เลือดกำเดา โรคโพรงจมูกอักเสบ
ภาพแสดงระดับการถูกทำลายของโพรงจมูกจากน้อย มาก การวินิจฉัยโรค • จากการอาการทางคลีนิค หรือใช้ swab จากจมูกมาเพาะเชื้อ ถ้ามีอาการไม่ชัดเจน โรคโพรงจมูกอักเสบ
การรักษา ควบคุมและป้องกันโรค 1. ให้ยาผสมอาหาร เช่น ยาซัลฟา หรืออ๊อกซีเตตร้าซัยคลิน หรือ ไทโลซิน นาน 1 เดือนในช่วงสุดท้ายของการตั้งท้อง หรือตลอด 2 w ก่อนและหลังคลอด 2. ให้วัคซีนรวมระหว่างเชื้อทั้งสองชนิด ก่อนนำเข้าฝูงและให้ซ้ำทุกครั้งก่อนคลอดประมาณ 1-2 สัปดาห์ 3. แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการจัดการ โรคโพรงจมูกอักเสบ
โรคที่เกี่ยวกับปอดบวมและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ (Pneumonia and pleuritis) • เป็นปัญหาสำคัญอันดับ 2 รองจากโรคในระบบทางเดินอาหาร • ทำให้อัตราการตายสูง ส่วนสัตว์ที่รอดตายจะมีการสูญเสียจาก FCR และ ADG ต่ำกว่าปกติ สาเหตุโน้มนำ • การเป็นโรคพยาธิ • ปัญหาท้องร่วงในช่วงก่อนและหลังหย่านม • การเลี้ยงสุกรหนาแน่นเกินไป
สาเหตุโน้มนำของโรคในระบบหายใจ (ต่อ) • การนำสุกรจากหลายแหล่งมารวมกัน • การเลี้ยงสุกรขนาดแตกต่างปะปนกัน กลุ่มอาการปอดอักเสบ
สาเหตุโน้มนำของโรคในระบบหายใจ (ต่อ) • สภาพโรงเรือนไม่เหมาะสมและการระบายอากาศไม่ดี • อุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนแตกต่างมากเกิน 12C • ปัญหาข้ออักเสบหรือฝีหนอง • คุณภาพอาหารต่ำ esp มีโปรตีนต่ำ • พันธุ์:ยอร์คเชียร์จะไวต่อการเป็นโรค กลุ่มอาการปอดอักเสบ
ภาพเปรียบเทียบระหว่างปอดปกติและปอดเน่าภาพเปรียบเทียบระหว่างปอดปกติและปอดเน่า กลุ่มอาการปอดอักเสบ
ถุงลมพอง (lung emphysema) ปอดบวม (lung edema) โรคปอดและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
โรคพาสเจอร์เรลโลซีส1 (Pasteurellosis) • โรคปอดบวมชนิดนี้มีอุบัติการมากที่สุดในแหล่งที่มีการเลี้ยงสุกรเป็นอุตสาหกรรมและค่อนข้างแออัด และพบโรคมากที่สุดในสุกรหลังหย่านม • มักพบการเกิดโรคในลักษณะแทรกซ้อนหลังจากมีการติดเชื้ออื่นๆ มาก่อน สาเหตุ • เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิดกรัมลบ Pasteurella multocidaซึ่งสามารถสร้างทอกซินได้ โรคปอดและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
โรคพาสเจอร์เรลโลซีส1 (Pasteurellosis) อาการ • พบทั้งแบบเฉียบพลัน ซึ่งทำให้โลหิตเป็นพิษ cyanosis และแบบเรื้อรัง • ทำให้ปอดและหลอดลมอักเสบแบบเป็นหนอง มีไฟบรินร่วมด้วย มักพบที่ปอดลอนหน้าและลอนข้างหัวใจรวมทั้งที่ปอดลอนท้ายในรายที่เป็นโรคอย่างรุนแรง โรคปอดและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
โรคเอนซูติกนิวโมเนีย 2(Enzootic pneumonia) • มีการติดเชื้อจากแม่สุกรที่เป็นพาหะไปสู่ลูกสุกรดูดนมตั้งแต่แรกเกิด แต่มัก พบโรคมากที่สุดในสุกร 2-4 w สาเหตุ • เกิดจากเชื้อ Mycoplasma hyopneumoniaeซึ่งเป็นจุลชีพจำเพาะต้องอยู่ที่ทางเดินหายใจ ไม่ทนต่อสภาพสิ่งแวดล้อมภายนอกร่างกาย โรคปอดและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
อาการและวิการ • มักพบสัตว์ป่วยเป็นแบบเรื้อรังมากกว่าแบบเฉียบพลัน สัตว์จะแสดงอาการไอ หอบ esp ตอนเช้าและตอนให้อาหาร อัตราการป่วย 30-60% อัตราการตาย 10% • พบวิการที่ปอด apical lobe และ cardiac lobe มีลักษณะแข็งตัวที่ส่วนปลาย มีสีลูกพลัมหรือสีเทา กลุ่มอาการปอดอักเสบ
โรคปอดและเยื่อหุ้มปอดอักเสบ 3(Pleuropneumonia) • เกิดได้ในสุกรทุกช่วงอายุ (esp 2-6 m) สาเหตุ • เกิดจากเชื้อ Actinobacillus pleuropneumoniaeซึ่งเป็นแบคทีเรียชนิดกรัมลบ รูปแท่ง สามารถสร้าง endotoxin ไม่ทนต่อสภาพสิ่งแวดล้อมภายนอกร่างกาย กลุ่มอาการปอดอักเสบ
อาการและวิการ • ไข้สูง ปอดและเยื่อหุ้มปอดอักเสบอย่างรุนแรง (มีไฟบรินยึดปอดติดกับผนังช่องอก) มักเป็นแบบเฉียบพลัน ระยะเวลาการเกิดโรคสั้น (18 ชม-5 วัน) สุกรจะหายใจลำบากมาก อาจพบน้ำลายและน้ำมูกเป็นฟองปนเลือด cyanosis สัตว์มักจะช็อคตาย • พบวิการที่ปอด apical lobe และ cardiac lobe มีลักษณะแข็ง สีแดงเข้ม กลุ่มอาการปอดอักเสบ
โรคไข้หวัดใหญ่ในสุกร 4(Swine influenza) • เป็นโรคหวัดที่มีการระบาดอย่างรวดเร็ว (explosive outbreak) มีการติดต่อกันในระหว่างสุกร เป็ด ไก่งวงและคน • อัตราการป่วย ~100% แต่อัตราการตายต่ำ ~1% • โรคเกิดได้ในสุกรทุกช่วงอายุ esp สุกรเล็ก และทุกฤดูกาล esp ฤดูหนาว กลุ่มอาการปอดอักเสบ
โรคไข้หวัดใหญ่ในสุกร 4(Swine influenza) สาเหตุ • เกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่งมีหลายแอนติเจนิกไทป์คล้ายไข้หวัดในคน • เชื้ออยู่นอกร่างกายสิ่งมีชีวิตได้ประมาณ 2 w แต่ถูกทำลายได้ง่ายด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อทั่วไป การติดต่อ • ไอ จาม สัมผัส transplacenta • interspecies transmission: สุกร เป็ด ไก่งวง และคน กลุ่มอาการปอดอักเสบ
อาการ • ไข้ ไอ จาม หายใจลำบากและเปลี้ยหมดแรง แต่อาการเหล่านี้จะหายเป็นปกติอย่างรวดเร็ว • โรคจะรุนแรงมากขึ้นเมื่อเป็นร่วมกับโรคอื่น เช่น พยาธิในปอด พิษสุนัขบ้าเทียม โรคปอดอื่นๆ ทำให้อัตราการตายสูง • โรคจะคล้ายคลึงกับเอนซูติกนิวโมเนีย แต่ระบาดอย่างรวดเร็วกว่า และโรคจะสงบเร็วกว่าถ้าไม่มีโรคอื่นแทรก กลุ่มอาการปอดอักเสบ
โรคพิษสุนัขบ้าเทียม (Aujesky’s disease) • เป็นโรคที่ทำให้เกิดความสูญเสียในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรอย่างมาก เนื่องจากสุกรที่เป็นโรคจะเป็นพาหะเป็นปี • ทำให้เกิดความสูญเสียในลูกสุกร และเป็นโรคที่กดระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้มีโรคอื่นๆ แทรกได้ง่าย กลุ่มอาการปอดอักเสบ
โรคพิษสุนัขบ้าเทียม (Aujesky’s disease) สาเหตุ • เกิดจากเฮอร์ปีส์ไวรัส ซึ่งเป็นเฮอร์ ปีส์ชนิดเดียวที่มี host range กว้างมาก เช่น โค แกะ สุนัขและแมว • ไวรัสนี้ค่อนข้างคงทนต่อสภาพแวดล้อม แต่ถูกทำลายได้ด้วย sodium hypochlorite, phenol และ formaldehyde การติดต่อ • contact, transplacenta, transcolostrum, semen และพาหะ esp สุกรซึ่งรอดตายแต่อมโรค กลุ่มอาการปอดอักเสบ
อาการ • ในสุกรเกี่ยวข้องกับระบบประสาท ระบบหายใจและระบบการสืบพันธุ์ ส่วนในสัตว์อื่นทำให้สมองอักเสบและมีอาการคันอย่างรุนแรงมาก ลูกสุกรดูดนม • จะมีอัตราการตายสูงสุด อาการป่วยคือ หายใจลำบาก มีไข้ น้ำลายไหลมาก อาเจียน ท้องร่วง ตัวสั่น ซึม เดินโซเซ ตากระตุก นอนชักแบบตะกุยเท้า ตายใน 1-2 วัน กลุ่มอาการปอดอักเสบ
Porcine Respiratory and Reproductive Syndrome (PRRS or Blue ear) • เริ่มมีการระบาดครั้งแรกในโลก เมื่อปี 2530 แถบ USA และ Canada แต่ปัจจุบันพบได้ทั่วโลก สาเหตุ • เกิดจากเชื้อไวรัส การติดต่อ • จากการสัมผัสสิ่งขับถ่ายของสุกรที่มีการติดเชื้อ เช่น อุจจาระ ปัสสาวะ น้ำมูก อสุจิ นอกจากนี้เชื้อยังสามารถไปตามกระแสลมได้ในระยะไม่น้อยกว่า 3 กม. กลุ่มอาการปอดอักเสบ
อาการ • แม่สุกรอุ้มท้องจะแท้ง esp ระยะท้ายของการตั้งท้อง (110 d) หรือคลอดเป็นมัมมี่ หรือลูกตายหลังคลอด • ลูกสุกรและสุกรขุนแสดงอาการคล้ายหวัด • ระยะเวลาแสดงอาการนาน 2.5-4 เดือน การติดต่อ • จากการสัมผัสสิ่งขับถ่ายของสุกรที่มีการติดเชื้อ เช่น อุจจาระ ปัสสาวะ น้ำมูก อสุจิ นอกจากนี้เชื้อยังสามารถไปตามกระแสลมได้ในระยะไม่น้อยกว่า 3 กม. กลุ่มอาการปอดอักเสบ
การวินิจฉัยโรค • เจาะเลือดตรวจหาระดับภูมิคุ้มโรคในแม่สุกรที่แท้ง และลูกที่ป่วย • ส่งซากที่แท้งเพื่อเพาะเชื้อ การควบคุมโรค • ในแหล่งที่มีการระบาดของโรคจำเป็นต้องใช้วัคซีนซึ่งเป็นชนิดเชื้อเป็น กลุ่มอาการปอดอักเสบ