350 likes | 477 Views
ความสำคัญของฐานข้อมูลและสิทธิการรักษาพยาบาล. โดย ฝ่ายศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ งานประกันสุขภาพ. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกัน. ปรับทัศนคติในการทำงาน. คนที่ไม่เคยทำผิด คือคนที่ไม่ทำอะไรเลย ?. คุณสมบัติกับงาน. คุณสมบัติทั่วไป คุณสมบัติทั่วไป ทุกท่านที่ผ่านเข้ามาทำงาน มีอยู่แล้ว
E N D
ความสำคัญของฐานข้อมูลและสิทธิการรักษาพยาบาลความสำคัญของฐานข้อมูลและสิทธิการรักษาพยาบาล โดย ฝ่ายศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ งานประกันสุขภาพ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกัน
ปรับทัศนคติในการทำงานปรับทัศนคติในการทำงาน คนที่ไม่เคยทำผิด คือคนที่ไม่ทำอะไรเลย ?
คุณสมบัติกับงาน คุณสมบัติทั่วไป คุณสมบัติทั่วไป ทุกท่านที่ผ่านเข้ามาทำงาน มีอยู่แล้ว คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง/งาน ประสบการณ์ การเรียนรู้ ค้นคว้า ศึกษาเอง ได้มาจากไหน ?
ปัญหาของฐานข้อมูลที่ผิดเกิดจาก ?? • ขาดทักษะ ประสบการณ์ • เปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบงาน • เจ้าหน้าที่โยกย้ายบ่อย • การส่งต่องาน ระหว่างผู้รับผิดชอบงานคนเดิม และผู้รับผิดชอบงานคนใหม่ • ปัญหาของโปรแกรมจัดเก็บฐานข้อมูล HosXp
HosXp คืออะไร ? 1. HosXp คือ ? : โปรแกรมจัดเก็บฐานข้อมูลสำเร็จรูปของโรงพยาบาล 2. ทำไมรูปแบบ หน้าต่างงาน ถึงเปลี่ยนแปลงตลอด ? : มีการพัฒนาโปรแกรม (ปรับปรุง Version ) ของเจ้าของลิขสิทธิ์ตลอด เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน 3. ไม่ใช้ HosXp ได้หรือไม่ ? : ได้ มีโปรแกรมจัดเก็บฐานข้อมูลอื่น ๆ อีกมาก เช่น HCIS ,JCIS ,HosOS ขึ้นอยู่ว่าโปรแกรมไหนรองรอบการส่งออกข้อมูลที่สมบูรณ์ และแนวทางของ จังหวัด
ประเด็นคำถาม ? • ฐานข้อมูล มีความสำคัญอย่างไร ? 1. เป็นข้อมูลของผู้ป่วย ที่มารับบริการแต่ละราย 2. เป็นข้อมูลสถิติและรายงาน ของโรงพยาบาล • ทำไม ? ต้องส่งรายงานให้ สสจ.? สปสช.? กระทรวง ? 1. เป็นข้อมูลในการจัดสรรงบประมาณทางด้านสาธารณสุข
ประเด็นคำถาม ? • ฐานข้อมูลที่ผิดพลาด มีผลต่อระบบรายงานใช่หรือไม่ ? : ใช่ , เมื่อระบบรายงานผิด มีผลต่อการจัดสรรงบประมาณเหมาจ่ายรายหัวของประชากร สำหรับประชากรผู้มีสิทธิในหลักประกันสุขภาพ ของ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ประเด็นคำถาม ? • งบประมาณเหมาจ่ายรายหัว คืออะไร ? ภายใต้นโยบายด้านสุขภาพของรับบาล คือ “ 30 รักษาทุกโรค” ขณะนี้เปลี่ยนเป็น “ 30 บาทช่วยคนไทย ห่างไกลโรค “ ได้มีหลักการจัดสรร งบประมาณทางด้านสาธารณสุขในรูปแบบการเหมาจ่ายรายหัว และแปรผันตาม จำนวนประชากรที่มาขึ้นทะเบียน (บัตรทอง) เป็นงบประมาณหลักที่ใช้ในการดำเนินกิจการของโรงพยาบาล และงบประมาณดังกล่าวจะถูกแบ่งออกเป็นหมวดต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้แต่ละกิจกรรมต่างกัน
ประเด็นคำถาม ? • งบประมาณนี้ สำคัญกับโรงพยาบาลอย่างไร ? งบประมาณเหมาจ่ายรายหัว จะถูกแบ่งเป็นหมวดต่าง ๆ หมวดเงินงบประมาณ • งบบุคลาการ : หักไว้สำหรับค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรได้แก่ เงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง เงินเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย เงินสวัสดิการรักษาพยาบาล เงินสำหรับผู้ไม่ประกอบเวชปฏิบัติส่วนตัว เป็นต้น • งบลงทุน : งบประมาณสำหรับจัดหาครุภัณฑ์ ที่ดิน อาการและสิ่งก่อสร้าง
ประเด็นคำถาม ? หมวดเงินนอกงบประมาณ • เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Coverage : UC ) งบประมาณในหมวดนี้เป็นงบดำเนินงาน ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วย และสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชน เช่น การจัดซื้อยา และเวชภัณฑ์ การส่งเสริมป้องกันควบคุมโรค จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ • เงินบำรุง เป็นเงินที่โรงพยาบาลได้รับจาก การเรียกเก็บจากผู้มารับบริการตามสิทธิ เช่น ชำระเงินเอง สิทธิข้าราชการ ประกันสังคม ค่าธรรมเนียม 30 บาท เป็นต้น และเงินบริจาค
ประเด็นคำถาม ? • เงินบำรุง สำคัญกับเราอย่างไร ? เป็นค่าใช้จ่ายในด้านต่าง ๆ ค่าวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เงินปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของบุคลากร (OT) เงินเดือนลูกจ้างชั่วคราว เป็นต้น เงินส่วนนี้ขึ้นอยู่จำนวนผู้ป่วย และกับกิจกรรมพิเศษที่โรงพยาบาลดำเนินการ การรับบริจาค
เมื่อเราทราบที่มา เราก็จะทราบที่ไปต่อ
สิทธิบัตรทอง (ในเขต) ทั้งบัตรทอง มี ท และ บัตรทอง 30 บาท คือผู้ที่ขึ้นทะเบียน โดยมีสถานบริการหลักคือ รพช.เฉลิมพระเกียรติ และสถานพยาบาลรอง คือ สอ./สสช. ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ ค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู้ป่วยนอก: ตรวจทั่วไป อุบัติเหตุและฉุกเฉิน (AE) , การส่งต่อRefer กองทุนสาขาจังหวัด เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย ผู้ป่วยใน:เบิกค่าใช้จ่ายโดยผ่านโปรแกรม e-Claim ** สรุป ไม่ต้องเก็บเงิน ยกเว้นมารับบริการที่บัตรทองไม่คุ้มครอง**
สิทธิบัตรทอง (ข้ามเขต) ในจังหวัด คือ ผู้ที่ขึ้นทะเบียนบัตรทอง ต่างอำเภอ มาใช้บริการ ค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู้ป่วยนอก: ตรวจทั่วไป / รับบริการส่งเสริม ป้องกัน > ชำระเงินเอง อุบัติเหตุและฉุกเฉิน (AE) , การส่งต่อRefer มารับบริการไม่จำกัด จำนวนครั้ง / ปี > งาน Claim เบิกจาก กองทุนสาขาจังหวัด เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย > ไม่ต้องชำระเอง ผู้ป่วยใน:เบิกค่าใช้จ่ายโดยผ่านโปรแกรม e-Claim > ไม่ต้องชำระเอง
สิทธิบัตรทอง (ข้ามเขต) นอกจังหวัด คือ ผู้ที่ขึ้นทะเบียนบัตรทอง ต่างจังหวัด มาใช้บริการ ค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู้ป่วยนอก - ตรวจทั่วไป / รับบริการส่งเสริม ป้องกัน > ชำระเงินเอง - อุบัติเหตุและฉุกเฉิน (AE), การส่งต่อ(Refer)รับบริการไม่จำกัดจำนวนครั้ง / ปี ตามความจำเป็น เบิกค่าใช้จ่ายโดยผ่านโปรแกรม e-Claim > ไม่ต้องชำระเอง ผู้ป่วยใน: เบิกค่าใช้จ่ายโดยผ่านโปรแกรม e-Claim > ไม่ต้องชำระเอง
สิทธิว่าง คือ คนไทย ที่มีสิทธิตาม พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 แต่สิทธิยังไม่ปรากฏใน www.nhso.go.th และไม่มีสิทธิการรักษาพยาบาลอื่น ค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู้ป่วยนอก- ตรวจโรคทั่วไป / อุติเหตุฉุกเฉิน / Refer เบิกค่าใช้จ่ายผ่านโปรแกรม e-Claim > ไม่ต้องชำระเงิน - มารับบริการที่เป็นความต้องการของคนเอง ส่งเสริม ป้องกัน เช่น รหัสICD 10 = Z > ชำระเงินเอง ผู้ป่วยใน>เบิกค่าใช้จ่ายผ่านโปรแกรม e-Claim > ไม่ต้องชำระเงิน
บัตรทองผู้พิการ และทหารผ่านศึก บัตรทอง ประเภทสิทธิย่อย ผู้พิการ หรือ ท 74 ทหารผ่านศึก หรือ ท 75 รักษาในจังหวัด และนอกจังหวัด ในรพ.ของรัฐได้ทุกกรณี ค่าใช้จ่ายในการรักษา> ในจังหวัด เบิกตามข้อตกลงของจังหวัด นอกจังหวัด เบิกผ่านโปรแกรม e-Claim *ไม่ต้องชำระเงิน *
สิทธิประกันสังคมในจังหวัดสิทธิประกันสังคมในจังหวัด • ผู้ประกันตน จะได้รับความคุ้มครองจากสิทธิประกันสังคม เมื่อส่งเงินสมทบมาแล้ว 6 เดือน • รับบริการรักษาตามเงื่อนไขที่ประกันสังคมกำหนด
ประกันสังคม ส่งเงินสมทบไม่ครบ 3 เดือน เงื่อนไข • มารับบริการรักษา • สิทธิประกันสังคม มีหลักฐานรับรองจากประกันสังคม ว่ายังส่งเงินสมทบไม่ครบ 3 เดือน ค่าใช้จ่ายในการรักษา ผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน เข้ารับการรักษา > เบิกผ่านโปรแกรม e-Claim *ไม่ต้องชำระเงิน *
ประกันสังคม ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน เงื่อนไข • เข้ารับบริการคลอด • ต้องมีหลักฐานรับรองจากสำนักงานประกันสังคมว่ายังส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน ค่าใช่จ่ายในการรักษา> เบิกผ่านโปรแกรม e-Claim *ไม่ต้องชำระเงิน *
สิทธิเบิกจากต้นสังกัดสิทธิเบิกจากต้นสังกัด สิทธิข้าราชการ /รัฐวิสาหกิจ ตรวจสอบสิทธิ : ที่ http://welcgd.cgd.go.th/wel/login.jsp ระบบตรวจสอบสิทธิรักษาพยาบาล ของกรมบัญชีกลาง เมื่อสิทธิขึ้นหน้า Web แนะนำให้เข้าร่วมโครงการจ่ายตรงกับทางโรงพยาบาล สิทธิจ่ายตรง: งานจ่ายตรงเบิกจ่ายค่ารักษาเอง ทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน > ไม่ต้องชำระเงิน สิทธิเบิกจากต้นสังกัด (ยังไม่ได้เข้าร่วมโครงการจ่ายตรง) > สำรองจ่ายก่อน นำใบเสร็จใบเบิกต้นสังกัดภายหลัง > ใช้ใบแจ้งหนี้จากหน่วยงานต้นสังกัดรับรอง > ไม่ต้องชำระเงิน
เงิน ON TOPปีงบ 2553 เงิน ON TOPหรือค่าชดเชยบริการหรือเป็นการสนับสนุนเพิ่มเติม บาง กิจกรรมของการบริการหลักในชุดสิทิประโยชน์ ที่จัดให้ประชากรกลุ่มเป้าหมาย มากจากงบเหมาจ่ายรายหัว ที่จัดสรรตามผลการให้บริการ 10 รายการดังนี้ 1. ANCครั้งแรก เมื่ออายุครรภ์ น้อยกว่า 90 วัน * หญิงไทย / ทุกสิทธิ * เบิกจากโปรแกรม e –Claim * ต้องมีผล LAB , LMP * * 500 บาท / คน
2. ANC * สิทธิประกันสังคม (ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน ) เงื่อนไข • ANC ครั้งแรก ไม่จำกัดอายุครรภ์- รายละ 1200 บาท • ANC ครั้งต่อไป- รายละ 400 บาท • ต้องมีผล LAB , LMP • เบิกจากโปรแกรม e –Claim
ตรวจหลังคลอด (PNC) • สิทธิ UC • สิทธิประกันสังคม ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน เงื่อนไข • มีบันทึกวันที่คลอดบุตร • เข้ารับการตรวจ 6 เดือนหลังคลอด • เบิก 1 คน / 1 ครั้ง • รายละ 150 บาท (ไม่รวมคัดกรองมะเร็งปากมดลูก) • เบิกจากโปรแกรม e –Claim
วางแผนครอบครัว เงื่อนไข • เฉพาะสิทธิข้าราชการ / ประกันสังคม • ยาเม็ด 40 บาท (ต่อคนต่อครั้ง) • ยาฉีด 60 บาท • ห่วงอนามัย 500 บาท • ยาฝัง 2,200 บาท • เบิกจากโปรแกรมe-Claim
บริการวัคซีน / EPI เงื่อนไข • ประชาชนไทย ทุกสิทธิ • 10 บาท / ครั้ง (ยกเว้น OPV) • เบิกจ่ายจากข้อมูล 18 แฟ้ม
การตรวจ TSH เงื่อนไข • เด็กไทยทุกสิทธิ • ตรวจครั้งแรก 140 บาท / คน • ตรวจยืนยัน 250 บาท / คน (โดยตรวจจาก serum) • เบิก / จ่าย โดยส่งรายงานตามแบบของ สปสช. • ต้องระบุ วัน /เดือน/ปี /เกิด ของทารก
การตรวจสุขภาพช่องปากในเด็กการตรวจสุขภาพช่องปากในเด็ก การตรวจสุขภาพช่องปาก เงื่อนไข • เด็กทุกสิทธิ (ป.1 ป.3 และ ป.6) • 7 บาท / คน • เบิก / จ่าย ข้อมูลจาก Sealant program
การเคลือบหลุมร่องฟัน เงื่อนไข • เด็กทุกสิทธิ เฉพาะ ป.1 ( ฟันกรามแท้ ซี่ที่ 1 ) ป.6 ( ฟันกรามแท้ ซี่ที่ 2 ) • 130 บาท / ซี่ • เบิก / จ่าย ข้อมูลจาก Sealant program
การคัดกรองความเสี่ยง 4 โรค เงื่อนไข • ประชาชนทุกสิทธิ (โรคอ้วน , กลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ,DM ,HT, Stoke กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป • 50 บาท / ราย • โปรแกรม PPIS • จ่ายค่าชดเชยรายไตรมาส ผ่าน สสจ.
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง 4 กลุ่มโรค เงื่อนไข • ประชาชนทุกสิทธิ • ไม่เกิน 2000 บาท / ราย (ขึ้นอยู่กับ สปสช.พิจารณา) • 4 กลุ่มโรค ดังนี้ โรคอ้วนลงพุง เบาหวาน ความดันโลหิต และ Stoke • เบิก/จ่าย ผ่านโปรแกรม PPIS
การตรวจคัดกนรองมะเร็งปากมดลูกการตรวจคัดกนรองมะเร็งปากมดลูก เงื่อนไข • หญิงไทย อายุ 30 – 60 ปี • สิทธิ UC , สิทธิประกันสังคม • Pap smear 200 บาท / ราย • VIA 70 บาท / ราย • การจี้ด้วยความเย็น 160 บาท / ราย • เบิก/จ่ายผ่าน โปรแกรม Cervical screening
การดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ที่มีโรคเรื้อรัง เงื่อนไข • อายุ 60 ปีขึ้นไป • ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง > มะเร็ง เบาหวาน โรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง และไตวายเรื้อรัง • 300 บาท / ราย /ปี (เฉพาะรายที่มีคำถามมากกว่าหรือเท่ากับ 7 ) • โปรแกรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเสร้าระดับจังหวัด