1 / 23

การประเมินศักยภาพผลงานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา

การประเมินศักยภาพผลงานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา. ศ.ดร.กิตติชัย วัฒนานิกร 21 มกราคม 2552 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์. ตัวบ่งชี้ประเมินการวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายนอก (สมศ.).

thuong
Download Presentation

การประเมินศักยภาพผลงานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินศักยภาพผลงานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาการประเมินศักยภาพผลงานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา ศ.ดร.กิตติชัย วัฒนานิกร 21 มกราคม 2552 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์

  2. ตัวบ่งชี้ประเมินการวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายนอก (สมศ.) • ร้อยละของงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่และ/หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๓๐, ๓๐, ๓๐, ๓๐) • เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ของสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๓๐๐๐๐, ๑๕๐๐๐, ๑๕๐๐๐, ๑๕๐๐๐) • เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๕๐๐๐๐, ๑๕๐๐๐, ๑๐๐๐๐, ๑๐๐๐๐)

  3. ตัวบ่งชี้ประเมินการวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายนอก (สมศ.) • ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๕๐, ๔๕, ๔๐, ๔๐) • ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๔๐, ๒๐, ๒๐, ๒๐)

  4. ตัวบ่งชี้ประเมินการวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายนอก (สมศ.) ตัวบ่งชี้เฉพาะ • ร้อยละของจำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ (เช่นISI, ERIC) ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๒๐) • จำนวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัตรต่อจำนวนอาจารย์ประจำในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (๓)

  5. ตัวบ่งชี้การประเมินงานวิจัยสำหรับการประกันฯภายใน (สกอ.) • มีการพัฒนาระบบ&กลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (5ข้อ,5ข้อ,5ข้อ,5ข้อ) • มีระบบบริหารจัดการความรู้จากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ (4ข้อ,4ข้อ,4ข้อ,4ข้อ) • เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (80000,25000,25000,25000)

  6. ตัวบ่งชี้การประเมินงานวิจัยสำหรับการประกันฯภายใน (สกอ.) • ร้อยละงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (40, 30, 30, 30) • ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง(citation)ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (40, เฉพาะสถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย)

  7. ตัวบ่งชี้ประเมินคุณภาพผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สกว.) • Equivalent International Journal Publication / Faculty Member • Impact Factor / Faculty Member • Equivalent International Journal Publication / Faculty

  8. (http://ed.sjtu.edu.cn/rank/2007/ARWU2007Methodology.htm ) การประเมินมหาวิทยาลัยวิจัยของโลก

  9. ประเด็นพิจารณาของระบบประเมินปัจจุบันประเด็นพิจารณาของระบบประเมินปัจจุบัน • วิธีประเมิน • ประเมินทุกปี • ประเมินพร้อมกับการประเมินภารกิจอื่นๆ(สมศ. สกอ.) • ประเมินโดยคณะผู้ประเมินที่อาจไม่เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ และต่างมาตรฐาน • ประเมินโดยใช้ข้อมูลที่จัดให้โดยสถาบัน (อาจมีหรือไม่มีการตรวจสอบกับฐานข้อมูลอื่นๆ)

  10. ประเด็นพิจารณาของระบบประเมินปัจจุบัน (ต่อ) • ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน • ความชัดเจน (ชื่อตัวบ่งชี้ คำอธิบายตัวบ่งชี้และเกณฑ์ คำอธิบายข้อมูลที่ใช้ในแต่ละตัวบ่งชี้ การได้มาซึ่งข้อมูล ) • ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการประเมิน (สมศ. สกอ. สกว.) • ความเที่ยงตรงในการวัดคุณภาพ ( คุณภาพกระบวนการและปัจจัยนำเข้า คุณภาพผลการวิจัย คุณภาพโดยรวมของสาขาวิชาต่างๆ)

  11. ประเด็นพิจารณาของระบบประเมินปัจจุบัน (ต่อ) • ผลกระทบจากวิธีการประเมิน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ • สร้างภาระเกินจำเป็นแก่สถาบันและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ? ( ความถี่ของการประเมิน การจัดหาข้อมูลประกอบการประเมิน การจัดหาผู้ประเมิน) • ส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติที่ไม่พึงประสงค์ ? • ส่งเสริม / ผลักดันให้เกิดการพัฒนากิจกรรมการวิจัย และผลการวิจัยที่สอดรับกับปรัชญาและเป้าประสงค์ของแต่ละกลุ่มสถาบันและการพัฒนาประเทศ ?

  12. กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565)

  13. สรุปกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ปรับปรุงจากแผน 15 ปี กลุ่ม ก. วิทยาลัยชุมชน กลุ่ม ข. สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตผู้นำ กลุ่ม ค. สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทาง กลุ่ม ง. สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา

  14. แนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยกับการพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศแนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยกับการพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ • รัฐใช้ควรกลไกเช่น RAEจัดสรรทุนวิจัยแบบ Competitive bidding สำหรับกลุ่ม องค์กร • รัฐใช้ควรกลไกเช่น RAEส่งเสริมศูนย์แห่งความเป็นเลิศทั้งระดับมหาวิทยาลัย ระดับประเทศ และตามวาระประเทศ (National agenda)หรือการชี้เชิงนโยบาย (Policy directed) (ก) ที่ให้ทางเลือกประเทศและให้ผลลัพธ์จากการวิจัยทั้งด้านสังคมและเศรษฐกิจ สร้างทรัพย์สินทางปัญญา และเกิดผลผลิตเศรษฐกิจ (ข) จำแนกว่าหน่วยงานใดอยู่ในตำแหน่งหรือมีความสามารถในขั้นตอนใด ทั้งการวิจัย (Research) การพัฒนา (Development) การบ่มเพาะความรู้และทรัพย์สินทางปัญญาจากการวิจัย(Incubation) การพัฒนาไปสู่การผลิตเชิงพาณิชย์(Commercialization)

  15. แนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยกับการพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ (ต่อ) ทั้งนี้แต่ละหน่วยงานหรือกลุ่มมหาวิทยาลัยอาจมีความสามารถ มีความเหมาะสม มีความจำเพาะ และวางตำแหน่งของตนที่ขั้นหนึ่งตอนใด หรือหลายขั้นตอนได้ ใช้ผล RAEและการวางตำแหน่งของแต่ละสถาบันในแต่ละกลุ่มมหาวิทยาลัย ปรับให้เหมาะเพื่อจัดเงินวิจัยสำหรับแต่ละกลุ่ม

  16. ระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักรระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักร ระบบ RAE(ค.ศ. 1986 – 2008 ) • วัตถุประสงค์: - เพื่อนำไปจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการประเมิน - เพื่อเทียบเคียงคุณภาพการวิจัยกับนานาประเทศ • ระดับการประเมิน: ระดับสาขาวิชา 67 สาขาวิชา (รวมเป็น 15 กลุ่มสาขา)

  17. ระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักรระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักร • มิติที่ประเมิน: ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ในรูปของ 3 องค์ประกอบคือ 1) สภาพแวดล้อมการวิจัย เช่น จำนวนนักศึกษาบัณฑิต เงินทุนวิจัยจากภายนอก สภาพแวดล้อม กลยุทธการวิจัย 2) ความมีชื่อเสียงของคณาจารย์ 3) ผลงานวิจัยของคณาจารย์ที่สถาบันคัดเลือกเข้าสู่การประเมิน

  18. ระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักรระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักร • ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมิน: พิจารณาโดยคณะผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละสาขาและกลุ่มสาขา ภายใต้สามองค์ประกอบข้างต้น • ข้อมูลที่ใช้ตอบแต่ละตัวบ่งชี้ : ข้อมูลที่มหาวิทยาลัยจัดส่งให้ตามแบบฟอร์มที่กำหนดในสามองค์ประกอบ (มหาวิทยาลัยเป็นผู้คัดเลือกอาจารย์ของแต่ละสาขาเข้าสู่การประเมิน) • วิธีการประเมิน: ประเมินจากคณะผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ(Peer Review) ระหว่าง 3-7 ปี/ครั้ง โดยประเมินทุกมหาวิทยาลัยภายใต้กรอบการประเมินเหมือนกัน(ไม่แยกกลุ่มมหาวิทยาลัย)

  19. ระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักรระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักร ระบบ REF(ค.ศ. 2010---) • วัตถุประสงค์: เช่นเดียวกับ RAE แต่ประสงค์จะลดภาระด้านบริหารจัดการการประเมินและหลีกเลี่ยงสิ่งล่อใจที่นำไปสู่การปฏิบัติที่ไม่พึงประสงค์ • ระดับการประเมิน: ระดับสาขาวิชาแต่คาดว่าจะลดจำนวนลงเทียบกับ RAE • มิติที่ประเมิน: อยู่ระหว่างพิจารณาแต่คาดว่าจะคล้ายระบบ RAE

  20. ระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักรระบบประเมินกิจกรรมการวิจัยของสหราชอาณาจักร • ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมิน: คาดว่าจะใช้ทั้งตัวบ่งชี้เชิงปริมาณและความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิประกอบกัน ทั้งนี้จะนำ bibliometric indidicators มาใช้ร่วมด้วย • ข้อมูลที่ใช้ตอบแต่ละตัวบ่งชี้: ข้อมูลที่มหาวิทยาลัยจัดส่งให้เท่าที่จำเป็น รวมกับข้อมูล bibliometricindicators จากฐานข้อมูลเช่น WoS, Scopus และข้อมูลจาก HESA • วิธีการประเมิน: คาดว่าใช้วิธีคล้ายกับ RAE แต่ทั้งนี้จะลดความเข้มข้นของกระบวนการประเมินจากคณะผู้ทรงคุณวุฒิ โดยเป็นลักษณะ Light-touch Process

  21. การทดสอบการนำ bibliometrics ไปใช้ใน REF เป้าหมายการทดสอบ • ขอบข่ายการนำ bibliometrics indicator ไปใช้ (สาขาวิชาใด บุคลากรกลุ่มใด และ paper ชนิดใด?) • ข้อมูลที่ต้องการและกระบวนการรวบรวมข้อมูลโดยคำนึงภาระงานที่จะเกิดแก่สถาบัน • การเลือกแหล่งข้อมูลอ้างอิง (อยู่ระหว่างทดสอบ WoS และ Scopus) • วิธีการวิเคราะห์การอ้างอิง • การเลือกและใช้ตัวบ่งชี้การอ้างอิงต่างๆกับระบบ REF

  22. การปรับปรุง/พัฒนาระบบประเมินศักยภาพผลงานวิจัยของไทยการปรับปรุง/พัฒนาระบบประเมินศักยภาพผลงานวิจัยของไทย • วัตถุประสงค์ของการประเมิน (อิงแผน 15 ปี) -ส่งเสริมศูนย์แห่งความเป็นเลิศที่ให้ผลลัพธ์จากการวิจัย ทั้งด้าน สังคมและเศรษฐกิจ สร้างทรัพย์สินทางปัญญา และเกิดผลผลิต เศรษฐกิจ -จำแนกหน่วยงานตามขั้นตอนความสามารถ(การวิจัย การพัฒนา การบ่มเพาะความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา การพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์) -วางตำแหน่งของแต่ละสถาบัน ในแต่ละกลุ่มมหาวิทยาลัย ปรับให้เหมาะเพื่อจัดสรรเงินวิจัยแบบ Competitive bidding

  23. การปรับปรุง/พัฒนาระบบประเมินศักยภาพผลงานวิจัยของไทยการปรับปรุง/พัฒนาระบบประเมินศักยภาพผลงานวิจัยของไทย • ระดับการประเมิน: รายบุคคล? สาขาวิชา? คณะ? สถาบัน? • มิติที่ประเมิน: ตัวป้อน? กระบวนการ? ผลลัพธ์? • ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน: เหมือนกันทุกสาขาวิชา? เหมือนกันทุกกลุ่มสถาบัน? หรือไม่เหมือน? • ข้อมูลที่ใช้ตอบตัวบ่งชี้: ข้อมูลที่สถาบันจัดให้? ข้อมูลจากฐานข้อมูลสากล? ข้อมูลสถิติการศึกษาจากหน่วยงานอื่นๆ? ข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย? • วิธีและกระบวนการประเมิน: ประเมินพร้อมกับการประเมินภารกิจอื่นๆ? ประเมินโดยคณะกรรมการที่อาจไม่เชี่ยวชาญในสาขาที่ประเมิน? ประเมินทุกปี? ประเมินโดยมีวิธีการเหมือนกันในทุกสาขาวิชา สถาบัน?

More Related