1 / 41

บทที่ 5

บทที่ 5. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค. ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค มี 2 ทฤษฎี. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ ทฤษฎีว่าด้วยเส้นความพอใจเท่ากัน. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (Theory of Utility). ผู้บริโภคมีรายได้จำกัด ผู้บริโภคปรารถนาจะได้รับความพอใจสูงสุด อรรถประโยชน์มีหน่วย “ ยูทิล ” ( Util)

Download Presentation

บทที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค

  2. ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค มี 2 ทฤษฎี • ทฤษฎีอรรถประโยชน์ • ทฤษฎีว่าด้วยเส้นความพอใจเท่ากัน

  3. ทฤษฎีอรรถประโยชน์(Theory of Utility) • ผู้บริโภคมีรายได้จำกัด • ผู้บริโภคปรารถนาจะได้รับความพอใจสูงสุด • อรรถประโยชน์มีหน่วย “ยูทิล” (Util) • อรรถประโยชน์จากสินค้าบริโภคหนึ่งไม่กระทบสินค้าชนิดอื่น • อรรถประโยชน์แต่ละชนิดสามารถรวมกันได้ • กฎของการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์

  4. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 68 เลขหน้า 5/2 ทฤษฎีอรรถประโยชน์ “อรรถประโยชน์”(utility) หมายถึง ความพอใจที่บุคคลได้รับจากการอุปโภคหรือบริโภคสินค้านั้นในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง “อรรถประโยชน์” เป็นเพียงความรู้สึกนึกคิด ซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้

  5. กฎการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์เพิ่ม(Law of Diminishing Marginal Utility) : เมื่อผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นทีละหน่วยแล้ว อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม(MU)ของสินค้านั้นจะลดลงตามลำดับ

  6. ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อบริโภคเพิ่มขึ้น1หน่วยความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อบริโภคเพิ่มขึ้น1หน่วย อรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (Marginal Utility : MU) • ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับเพิ่มขึ้นจากการบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น1หน่วย

  7. ก๋วยเตี๋ยว (ชาม) อรรถประโยชน์ ส่วนเพิ่ม(ยูทิล) 0 - 1 10 2 8 3 4 4 0 5 - 2 ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อได้รับก๋วยเตี๋ยวเพิ่มขึ้นจาก 0 เป็น 1 ชาม ความพอใจที่เพิ่มขึ้นเมื่อได้รับก๋วยเตี๋ยวเพิ่มขึ้นจาก 2 เป็น 3 ชาม

  8. อรรถประโยชน์รวม(Total Utility :TU) : ผลรวมของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม(MU)ที่ได้จากการบริโภคสินค้าตั้งแต่หน่วยแรกถึงหน่วยที่กำลังพิจารณาอยู่

  9. ข้าวซอย (ชาม) MU(ยูทิล) TU(ยูทิล) 0 - 0 1 10 10 2 18 8 3 22 4 22 4 5 20 0 -2 0 + 10 = 10ยูทิล 10 + 8 = 18ยูทิล 18 + 4 = 22ยูทิล

  10. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 69 เลขหน้า 5/4 อรรถประโยชน์รวมและอรรถประโยชน์เพิ่มของการดื่มน้ำ

  11. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 70 เลขหน้า 5/5 เส้นอรรถประโยชน์เพิ่ม (MU) และเส้นอรรถประโยชน์รวม (TU) ของสินค้าชนิดหนึ่ง

  12. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 70 เลขหน้า 5/6 เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าอรรถประโยชน์รวม (TU) และอรรถประโยชน์เพิ่ม (MU) ได้ดังนี้ 1. ทั้ง (TU) และ (MU) สำหรับการบริโภคสินค้าหน่วยแรก ๆ จะมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ 2. MU จะมีค่าสูงสุดเมื่อ slope ของ TU มีค่ามากที่สุดหลังจากจุดนี้แล้วค่าของ MU จะเริ่มลดลง 3. เมื่อ MU เท่ากับศูนย์ TU จะมีค่ามากที่สุด ต่อจากนั้นค่าของ TU จะเริ่มลดลงขณะเดียวกัน MU ก็จะมีค่าติดลบ

  13. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลภาพของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลภาพของผู้บริโภค หนังสือหน้า 70 เลขหน้า 5/7 ดุลยภาพของผู้บริโภค(Consumer Equilibrium)คือ การที่ผู้บริโภคได้รับความพอใจสูงสุดจากการที่ได้บริโภคสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง รวมทั้งความพอใจสูงสุดที่ได้จ่ายเงินจำนวนจำกัดเพื่อซื้อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลานชนิด เงื่อนไขดุลยภาพของผู้บริโภค มีดังนี้ • ผู้บริโภคมีรายได้จำกัด • ผู้บริโภคต่างแสวงหาความพอใจสูงสุดจากสินค้า

  14. ดุลยภาพของผู้บริโภค 1.กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด 2.กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด 2.1กรณีมีการซื้อสินค้าชนิดเดียว 2.2กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้าเท่ากัน 2.3 กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้าไม่เท่ากัน

  15. TU สูงสุด เมื่อ MU= 0 TU TU TU 6 4 5 10 6 8 13 7 8 15 7 7 15 5 3 บริโภค A = 5ชิ้น , B = 4 ชิ้น , C = 3 ชิ้น TUt=15 + 7 + 8 = 30ยูทิล กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด

  16. กรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัดกรณีผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัด TUtมีค่าสูงสุดเมื่อ MUA = MUB = . . . = 0

  17. กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด : กรณีมีการซื้อสินค้าชนิดเดียว เปรียบเทียบค่าอรรถประโยชน์ที่เขาได้รับจากสินค้าหน่วยนั้นๆกับอรรถประโยชน์ที่จะต้องสูญเสียไปจากการจ่ายเงินค่าซื้อสินค้าหน่วยนั้น TUสูงสุดเมื่อ MUของสินค้านั้น = MUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า

  18. MUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้าMUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า เงินที่ใช้ซื้อสินค้า เงินที่จ่ายซื้อสินค้าแต่ละหน่วย ราคาสินค้า

  19. ถ้าMUx คือMUของเงิน 1 หน่วย Px คือ ราคาของสินค้าX MUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้าX MUxxPx

  20. TUสูงสุดเมื่อ MUของสินค้านั้น = MUของเงินที่ใช้ซื้อสินค้า MUx = MUxxPx MUx = Px (MUx= 1) TUสูงสุดเมื่อMUx = Px

  21. กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด : กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้า เท่ากัน เลือกสินค้าที่ให้ค่าMUสูงสุดก่อนแล้วจึงเลือกสินค้าที่ให้ค่าMUต่ำลงมาจนกว่างบประมาณจะหมด ดุลยภาพของผู้บริโภค (TUสูงสุด) เกิดขึ้นเมื่อ TU สูงสุดเมื่อ MUx = MUy

  22. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ตารางอรรถประโยชน์ หนังสือหน้า 69 เลขหน้า 5/4 ตัวอย่างหน้า 65 อรรถประโยชน์เพิ่มของสินค้า x และ y

  23. กรณีผู้บริโภคมีรายได้จำกัด : กรณีมีการซื้อสินค้าหลายชนิดและราคาสินค้า ไม่เท่ากัน เลือกสินค้าที่ให้ค่าMUสูงสุดก่อนแล้วจึงเลือกสินค้าที่ให้ค่าMUต่ำลงมาจนกว่างบประมาณจะหมด MU ต่ำลง TU สูงขึ้น

  24. สินค้า A ราคา PA สินค้า B ราคา PB (PAPB) ราคา 1 บาท สินค้า A ราคา PA บาทให้อรรถประโยชน์ = MUA สินค้า A ราคา 1 บาท ให้อรรถประโยชน์ = MUA PA

  25. MUA MUB MUn = = . . . = PA PB Pn ดุลยภาพของผู้บริโภค (TUสูงสุด) เกิดขึ้นเมื่อ

  26. จำนวนซื้อ ปากกา (ด้าม) ดินสอ (แท่ง) TU MU / P TU MU / P 1 6 3 10 10 2 10 2 18 8 10 3 13 1.5 22 4 4 15 1 24 2 24 5 16 0.5 25 1 สมมติปากการาคาด้ามละ 2 บาทและดินสอราคาแท่งละ 1บาท และผู้บริโภคมีเงิน8บาท

  27. = = 2 MUA MUB PA PB ซื้อปากกา 2 ด้าม และดินสอ 4 แท่ง ( ด้วยเงิน 8 บาท ) TUt = 10 + 24 = 34 Util

  28. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจ หนังสือหน้า 72 เลขหน้า 5/8 ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve Theory) เป็นทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้บริโภคว่าถ้าผู้บริโภคมีรายได้จำกัดเพื่อซื้อสินค้า 2 ชนิด หากต้องการซื้อสินค้าหนึ่งเพิ่มขึ้นก็ต้องลดปริมาณการซื้อสินค้าอีกชนิดหนึ่ง เพื่อรักษาระดับความพอใจไว้เท่าเดิม อัตราของการทดแทนกัน จำนวนสินค้า x เพิ่มขึ้น 1 หน่วย นำไปทดแทนสินค้า y ที่ลดลง

  29. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้ายทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้าย หนังสือหน้า 73 เลขหน้า 5/12 อัตราหน่วยสุดท้ายของการทดแทนกันระหว่างสินค้า 2 ชนิด (Marginal Rate of Substitution – MRS) MRSหมายถึง อัตราการลดลงของสินค้าชนิดหนึ่ง เมื่อได้รับสินค้าอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ทั้งนี้เพื่อรักษาความพอใจให้คงเดิม

  30. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจ หนังสือหน้า 72 เลขหน้า 5/8 อัตราของการทดแทนกัน จำนวนสินค้า x เพิ่มขึ้น 1 หน่วย นำไปทดแทนสินค้า y ที่ลดลง จำนวนสินค้า y เพิ่มขึ้น 1 หน่วย นำไปทดแทนสินค้า x ที่ลดลง

  31. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้ายทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้าย หนังสือหน้า 74 เลขหน้า 5/13 อัตราหน่วยสุดท้ายของการทดแทนกันระหว่าง สินค้า X และ Y

  32. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจ หนังสือหน้า 73 เลขหน้า 5/10 แผนที่แสดงเส้นความพอใจเท่ากัน

  33. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้ายทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/อัตราหน่วยสุดท้าย หนังสือหน้า 74 เลขหน้า 5/14 เส้นความพอใจเท่ากัน

  34. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ทฤษฎีเส้นความพอใจ หนังสือหน้า 73 เลขหน้า 5/11 คุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากัน 1. เป็นเส้นโค้ง หรือเส้นตรงที่ลาดจากซ้ายลงมาทางขวา แสดงว่าเมื่อผู้บริโภคต้องเสียสละเขาต้องบริโภคสินค้าอีกอย่างหนึ่งน้อยลงได้รับสินค้าอย่างหนึ่งเพิ่มขึ้นจึงชดเชยให้ได้รับความพอใจเท่าเดิม 2. เส้นความพอใจเท่ากันส่วนมากเป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุด origin ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอัตราการทดแทนกันของสินค้า 2 อย่าง มีลักษณะลดลงเรื่อย ๆ 3. คุณสมบัติประการสุดท้าย คือ ส่วนประกอบของสินค้า 2 ชนิด ในการสร้างความพอใจที่เท่ากัน สำหรับผู้บริโภคที่ได้นับไม่ถ้วน กล่าวคือเส้นความพอใจเท่ากันนี้เป็นเส้นติดต่อกันโดยไม่ขาดช่วง

  35. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/เส้นงบประมาณทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/เส้นงบประมาณ หนังสือหน้า 75 เลขหน้า 5/15 เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา (Budget Line or Price Line) เส้นงบประมาณหรือเส้นราคา หมายถึง เส้นที่แสดงให้เห็นถึงจำนวนต่าง ๆ ของสินค้า 2 ชนิด ซึ่งสามารถซื้อได้ด้วยเงินจำนวนหนึ่งตามที่กำหนดไว้ ณ ราคาตลาดขณะนั้น

  36. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/เส้นงบประมาณทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/เส้นงบประมาณ หนังสือหน้า 76 เลขหน้า 5/16 เส้นงบประมาณ

  37. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลยภาพของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลยภาพของผู้บริโภค หนังสือหน้า 76 เลขหน้า 5/17 ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer’s Equilibrium) ณ จุดซึ่งเส้น IC และเส้นงบประมาณสัมผัสกันนั้น อัตราหน่วยสุดท้ายของการใช้ทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด จะเท่ากับอัตราส่วนราคาของสินค้า 2 ชนิดนั้น ซึ่งพิสูจน์ได้ดังนี้

  38. ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลยภาพของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค/ดุลยภาพของผู้บริโภค หนังสือหน้า 77 เลขหน้า 5/18 รูป ดุลยภาพของผู้บริโภค ดังนั้น

  39. จงหาค่า A-G

  40. จงหาค่า A-H เลือกซื้อสินค้า 2 ชนิดคือ X และ y, ราคาของสินค้าเท่ากัน = 25 บาท, งบประมาณ 100 บาท ซื้อสินค้า X ,Yอย่างละกี่ชิ้น

  41. จงหาค่า A-H เลือกซื้อสินค้า 2 ชนิดคือ X และ y, ราคาของสินค้าX = 2 บาท, ราคาของสินค้าy = 3 บาทงบประมาณ 24 บาท ซื้อสินค้า X ,Yอย่างละกี่ชิ้น

More Related