1 / 63

สุภัฒ สงวนดีกุล ผู้อำนวยการสำนักอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

AEC. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และผลกระทบ - การปรับตัวของกระทรวงมหาดไทย. สุภัฒ สงวนดีกุล ผู้อำนวยการสำนักอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. การบรรยายสำหรับผู้บริหารในระดับกรมของกระทรวงมหาดไทย และในระดับจังหวัด - หน่วยราชการในจังหวัด (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ VDO Conference)

thisbe
Download Presentation

สุภัฒ สงวนดีกุล ผู้อำนวยการสำนักอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และผลกระทบ-การปรับตัวของกระทรวงมหาดไทย สุภัฒ สงวนดีกุล ผู้อำนวยการสำนักอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศกระทรวงพาณิชย์ การบรรยายสำหรับผู้บริหารในระดับกรมของกระทรวงมหาดไทย และในระดับจังหวัด-หน่วยราชการในจังหวัด (ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ VDO Conference) ณ ห้องประชุม 1 อาคารศาลาว่ากลางกระทรวงมหาดไทย, 1 กันยายน 2554

  2. ภาพความสัมพันธ์เศรษฐกิจการค้าของไทยกับประเทศต่างๆภาพความสัมพันธ์เศรษฐกิจการค้าของไทยกับประเทศต่างๆ มองไทย มองอาเซียน – อาเซียนสำคัญต่อไทยอย่างไร มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โครงสร้างใหม่ของอาเซียนภายใต้กฏบัตรอาเซียน อะไรจะเปลี่ยนไปใน AEC FTA อาเซียนกับคู่ค้า AEC ได้หรือเสีย? ไทยพร้อมแล้วหรือยัง -- เตรียมรับมือ AEC ภาครัฐเตรียมความพร้อมให้เอกชนอย่างไรเพื่อรองรับ AEC สาระนำเสนอ

  3. ภาพความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าภาพความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้า ของไทยกับประเทศต่างๆ AEC

  4. สรุปภาพความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจสรุปภาพความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจ ระหว่างไทยกับประเทศคู่ค้าในระดับต่างๆ ภูมิภาค ทวิภาคี BIMSTEC พหุภาคี อนุภูมิภาค GMS ACMECS ASEAN IMT-GT APEC WTO BIMSTEC (Bay of Bengal Initiative for Multi Sectoral Technical & Economic Cooperation)ประกอบด้วย อินเดีย บังคลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฐาน พม่า และไทย

  5. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก(Asia-Pacific Economic Cooperation) สมาชิก APEC : 21 เขตเศรษฐกิจ

  6. ความร่วมมือในกรอบภูมิภาคความร่วมมือในกรอบภูมิภาค และอนุภูมิภาคของอาเซียน GMS โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง Greater Mekong Subregion Brunei Cambodia อาเซียน Singapore Laos Philippines Myanmar China (Yunan) Malaysia Vietnam Indonesia Thailand IMT-GT แผนงานพัฒนาเขตเศรษฐกิจ 3 ฝ่ายIndonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle ACMECS ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง Ayeyawady-ChaoPhrya-Mekong Economic Cooperation Strategy

  7. มองไทย มองอาเซียน -- อาเซียนสำคัญต่อไทยอย่างไร ? --- AEC

  8. ความสำคัญของอาเซียน ที่มา : ASEAN Secretariat

  9. ตัวชี้วัดสำคัญของอาเซียน (2009) หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ GDP: ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ FDI : Foreign Direct Investment ที่มา : ASEAN Secretariat

  10. การลงทุนตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในอาเซียน ปี 2004-2009 หน่วย: พันล้านเหรียญสหรัฐฯ 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2 2 3 5 5 6 3 2 5 ที่มา : ASEAN Secretariat

  11. ความสำคัญของอาเซียนต่อไทยความสำคัญของอาเซียนต่อไทย การส่งออกของไทยไปอาเซียน และ การนำเข้าของไทยจากอาเซียน 44,334 US$ 30,327 US$

  12. การค้าไทยกับอาเซียน ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2553 ปี 2535 ASEAN 22.7% ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)

  13. การค้าไทยกับอาเซียน แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2535 ปี 2553 ASEAN 16.6% นำเข้ารวม 182,406.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)

  14. …. มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC One Vision, One Identity, One Community

  15. CAMBODIA ASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1967(2510) ก่อตั้ง ASEAN • 1967(2510) ก่อตั้งโดย 5 ประเทศ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ • 1984(2527) ขยายสมาชิกบรูไน ASEAN - 6 • 1995(2538) ขยายสมาชิกเวียดนาม CLMV • 1997(2540) ขยายสมาชิกลาว พม่า • 1999(2542) ขยายสมาชิกกัมพูชา รวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน 10 ประเทศประชากร 580 ล้านคน และกำลังมุ่งสู่………….. 2015(2558)ASEAN Economic Community A E C ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  16. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน(ASC) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ตารางดำเนินการStrategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) ASC : ASEAN Security Community ASCC : ASEAN Socio-Cultural Community AEC : ASEAN Economic Community

  17. พิมพ์เขียว AEC พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint

  18. โครงสร้างใหม่ของอาเซียนโครงสร้างใหม่ของอาเซียน ภายใต้กฏบัตรอาเซียน One Vision, One Identity, One Community

  19. โครงสร้างของอาเซียน ภายใต้กฏบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ผู้นำอาเซียน (ASEAN Summit) เสาเศรษฐกิจ เสาสังคม-วัฒนธรรม เสาการเมือง ASEAN Coordinating Council (ACC) รมต.ต่างประเทศอาเซียน ASEAN Political-Security Community : ASC Council คณะมนตรีประชาคมความมั่นคงอาเซียน ASEAN Economic Community : AEC Council คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC Council คณะมนตรีประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน CPR (Committee of Permanent Representatives in Jakarta) เอกอัครราชทูตจากประเทศสมาชิกอาเซียน ประจำที่จาร์กาตา การรประชุมรัฐมนตรีรายสาขา 11 สาขา เช่น • รมต.เศรษฐกิจ AEM • รมต. คลังอาเซียน • รมต. เกษตร • รมต. พลังงาน • รมต. ขนส่ง • รมต. ท่องเที่ยว • รมต. ICT ฯลฯ การประชุมระดับรัฐมนตรี รายสาขา 6 สาขาเช่น • รมต. ต่างประเทศ • รมต. กลาโหม • รมต. ยุติธรรม ฯลฯ การประชุมระดับรัฐมนตรีรายสาขา 15 สาขาเช่น • รมต. วัฒนธรรม • รมต. ศึกษา • รมต. แรงงาน • รมต. มหาดไทย (การประชุมด้านการพัฒนาชนบท-ขจัดความยากจน และด้านภัยพิบัติอาเซียน) ฯลฯ ASEAN Secretariat สำนักเลขาธิการอาเซียน Senior Officials Meeting ของแต่ละสาขา Senior Officials Meeting ของแต่ละสาขา Senior Officials Meeting ของแต่ละสาขา Senior Officials

  20. ความเกี่ยวโยงของกระทรวงมหาดไทยความเกี่ยวโยงของกระทรวงมหาดไทย กับประชาคมอาเซียน (AC) AC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน ประชาคมความมั่นคงอาเซียน อำนาจหน้าที่กระทรวงมหาดไทย งานด้านการเมือง การปกครอง งานด้านเศรษฐกิจ งานด้านสังคม งานด้าน การพัฒนา ทางกายภาพ

  21. อะไรจะเปลี่ยนไปใน AEC? AEC AEC

  22. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผ่านมาความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนที่ผ่านมา สินค้า เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) CEPT ลงนามปี 2535เริ่มปี 2536 ASEAN Free Trade Area (Common Effective Preferential Tariff) บริการ กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) เริ่มปี 2538 ASEAN Framework Agreement on Services ลงทุน เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) เริ่มปี 2541 ASEAN Investment Area ความ ร่วมมือ ด้านเกษตร ป่าไม้ สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน e-ASEAN ฯลฯ

  23. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน

  24. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า • ปรับความตกลง AFTA CEPT เป็น ATIGA (ASEAN Trade In Goods Agreement ) • ลดภาษีนำเข้าเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536 อาเซียน-6 ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ CLMV ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ ยกเว้น สินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น 0%แต่ต้องไม่เกิน5% 1 มค. 2553(2010) 1 มค. 2558(2015) และ สินค้าในรายการอ่อนไหวสูง(Highly Sensitive List) ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้าอ่อนไหวสูง : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์

  25. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น0%แต่ต้องไม่เกิน5% ASEAN – 6 ลดภายใน 1มค 2553 CLMV ลดภายใน 1 มค 2558

  26. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC และสินค้าในรายการอ่อนไหวสูงHighly Sensitive List ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้า : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทยได้ชดเชย เป็นการนำเข้าขั้นต่ำ ปีละประมาณ 5.5 แสนตัน ไทยได้ชดเชย โดยฟิลิปปินส์ตกลงจะซื้อข้าวจากไทย อย่างต่ำปีละ 3.67 แสนตัน

  27. เคลื่อนย้ายบริการเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 2. เปิดเสรีการค้าบริการ อะไร คือ ธุรกิจบริการ ? • ตกลงที่จะขจัดข้อจำกัด/อุปสรรคต่างๆในภาคบริการระหว่างกันในอาเซียน ต้องลด/เลิก ประเทศปลายทาง ประเทศ ผู้ให้บริการ ข้อจำกัดของการเข้าสู่ตลาดเช่น • การจำกัดสัดส่วนผู้ถือหุ้นต่างชาติ • การจำกัดมูลค่าการให้บริการ • จำกัดจำนวนสถานบริการ • การจำกัดประเภทนิติบุคคล • การจำกัดจำนวนบุคคลผู้ให้บริการ • การจำกัดประเภทผู้บริการ • การไม่อนุญาตให้บุคคลากร (ผู้ให้บริการ) เข้ามาให้บริการ

  28. เคลื่อนย้ายบริการเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2558 (2015) 70% 70% 70% • อนุญาตให้ผู้ประกอบกิจการบริการของอาเซียน ไปทำธุรกิจโดยถือหุ้นได้อย่างน้อยถึง 70% โดยมีลำดับดำเนินการ คือ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)/ สุขภาพ / ท่องเที่ยว / การขนส่งทางอากาศ โลจิสติกส์ 51% สาขาอื่นๆ ที่เหลือทั้งหมด 51%

  29. “ภาคบริการ” VS“การลงทุน” ในความตกลงการค้าเสรี: ธุรกิจอะไรคือ “ภาคบริการ” อะไรคือ “การลงทุน” ? ภาคบริการ1.บริการด้านธุรกิจ/วิชาชีพ (แพทย์ วิศวกร ทนายความ นักบัญชี ฯลฯ)2. บริการด้านสื่อสาร/โทรคมนาคม3. บริการด้านการก่อสร้าง 4. บริการด้านการจัดจำหน่าย5. บริการด้านการศึกษา6. บริการด้านสิ่งแวดล้อม7. บริการด้านการเงิน8. บริการด้านสุขภาพ 9. บริการด้านการท่องเที่ยว 10. บริการด้านนันทนาการ 11. บริการด้านการขนส่ง12. บริการอื่นๆ • 29 ภาคที่ไม่ใช่บริการ=ลงทุน1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม)+ ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขา แยกเป็น 128 สาขาย่อย

  30. เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ACIA: ASEAN Comprehensive Investment Agreement การลงทุน1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม) 3. เปิดเสรีลงทุน • ต้องปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง • ทบทวนความตกลงAIAให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ • ครอบคลุมการเปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อำนวยความสะดวกการลงทุน • สาขาที่ยังไม่พร้อม สามารถขอสงวน(ไม่เปิดเสรี)ไว้ได้

  31. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แผนงานใน AEC Blueprint 4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก • ยอมรับร่วมกันเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขในการได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ • นักวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆในการอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขานั้นๆ • ปัจจุบัน ตกลงกันได้แล้ว 7 สาขา สาขาวิศวกรรม สาขาพยาบาล สาขานักสำรวจ สาขาแพทย์ สาขานักบัญชี สาขาทันตแพทย์ สาขาสถาปัตยกรรม

  32. FTA ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่ค้า AEC

  33. FTA ระหว่างอาเซียน และอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา ASEAN 10 ประเทศ (ความตกลง ATIGA, AFAS, ACIA) AEC AS-China AS-China AS-Japan AS-Korea อาเซียน+3 AS-Japan AS-Korea AS-India AS-Australia New Zealand อาเซียน+6 ASEAN (10) +China +Japan +Korea +India + Australia + NZ ASEAN (10) +China +Japan +Korea EAFTA CEPEA

  34. India อาเซียน-อินเดีย อาเซียน-จีน China อาเซียน- ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ Japan อาเซียน-เกาหลี Australia New Zealand Korea FTA ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา -- ปัจจุบัน ประเทศบวก 6 ประเทศบวก 3 สินค้า : มีผล 2549 ~ บริการ : มีผล 2550 ~ ลงทุน :ลงนาม 13 สค 52 สินค้า: ลงนาม 13 สค. 52 มีผล 1 มค. 53 บริการ/ลงทุน :กำลังเจรจา AEC อาเซียน-ญี่ปุ่น สินค้า/บริการ/ลงทุน: ลงนาม 2551 สำหรับไทย มีผล2 มิย 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 กพ 52 มีผล 1 มค. 53 สินค้า /บริการ :อาเซียนอื่นมีผลแล้วตั้งแต่ปี 50 สำหรับไทยบริการ ลงนาม 26 กพ 52 มีผล 1 มิย 52 สำหรับสินค้ามีผล 1 ตค 52 ลงทุน:ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิย.52 มีผล 31 ตค 52

  35. CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6) EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) Australia New Zealand China Japan Korea India การขยาย FTA ของอาเซียน – อนาคต… AEC ASEAN 10 : 583 ล้านคน( 9% ของประชากรโลก )GDP (ผลผลิตมวลรวมในประเทศ) 1,275 พันล้าน US$( 2% ของ GDP โลก) EAFTA (อาเซียน +3) : ประชากร 2,068 ล้านคน( 31% ของประชากรโลก ) GDP 9,901 พันล้าน US$ (18% ของ GDP โลก) CEPEA (อาเซียน +6) : ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก ) GDP 12,250 พันล้าน US$ (22% ของ GDP โลก)

  36. EU ?? Russia GCC MERCOSUR FTA ของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา – อนาคต…. AEC Mercado Comun del Surตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง Gulf Cooperation Councils บาห์เรน คูเวต โอมาน กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาเยนตินา ปารากวัย บราซิล อุรุกวัย เวเนซูเอลา

  37. การใช้ประโยชน์จาก AEC AEC

  38. ภาพของการลงทุนอุตสาหกรรมในอาเซียนเมื่อเข้าสู่ AEC ในห่วงโซ่การผลิต ฐานการผลิต ไม่จำเป็น ต้องอยู่ในประเทศใด ประเทศหนึ่งเพียงแห่งเดียว ฐานการผลิตจะอยู่ที่ใด ขึ้นอยู่กับ • ที่ใดจะมีความได้เปรียบสูงสุดในด้านต้นทุนของปัจจัยการผลิต หรือในด้านการตลาด • จำเป็น/ได้เปรียบมากน้อยเพียงใดที่อยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ • ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ • สภาพแวดล้อมการลงทุน รวมถึงกฏระเบียบ ข้อกำหนดของภาครัฐ กลยุทธ์สำคัญในการแข่งขัน คือการใช้ประโยชน์สูงสุดจาก “ฐานการผลิตร่วม” ใน AEC

  39. ประโยชน์จากการเป็นฐานการผลิตร่วมกันของอาเซียนประโยชน์จากการเป็นฐานการผลิตร่วมกันของอาเซียน AEC นำกลับมาไทยไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า ไม่ต้องเสีย ภาษีนำเข้า ใช้คอปกลูกไม้ถัก นำเข้าจาก ฟิลิปปินส์ ไม่ต้องเสีย ภาษีนำเข้า กระดุม จากเวียดนาม ไปลงทุนได้โดยเสรี ส่งไปปักในกัมพูชา ในโรงงานที่ไปตั้ง ฐานการผลิตร่วม โรงงานผลิตในไทย ไม่ต้องเสีย ภาษีนำเข้า นำเข้าผ้าจากมาเลเซีย การใช้ประโยชน์การสะสมถิ่นกำเนิดสินค้า อาเซียน - อินเดีย อาเซียน - ญี่ปุ่น อินเดีย อาเซียน-ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น อาเซียน - จีน อาเซียน -เกาหลี จีน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลี ใช้ความตกลง FTA อาเซียน-คู่ค้า

  40. AEC ได้หรือเสีย? AEC

  41. ใครบ้างที่จะเกี่ยวข้องกับ AEC ? ผู้ค้า เกษตรกร ผู้บริโภค แรงงาน ประชาชน นักธุรกิจ นักวิชาชีพ

  42. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ/ผู้ส่งออกไทย ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคที่มิใช่ภาษีหมดไป ขยายส่งออกไปยังตลาดอาเซียนได้เพิ่มขึ้น สินค้าประเภทเดียวกันจากอาเซียน เข้ามาแข่งในไทย นำเข้าวัตถุดิบ จากอาเซียน ที่มีคุณภาพ /ราคาถูกได้ สินค้าไทยคุณภาพด้อยต้นทุนสูง จะเสียตลาด ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง คู่แข่งอาเซียนอาจใช้ประโยชน์จากตลาดใหญ่ขึ้นได้เช่นกัน ทำให้ต้นทุนของคู่แข่งก็อาจต่ำลงด้วย ตลาดใหญ่ขึ้นทำให้เกิด Economy of Scale (ผลิตมากขึ้น ต้นทุนลด)  ต้นทุนผลิตลดลง ทำธุรกิจบริการ/ ลงทุน ในอาเซียนได้อย่างเสรี ไปตั้งธุรกิจ หรือขยายบริการในอาเซียนได้ ธุรกิจคู่แข่ง จากอาเซียน เข้ามาแข่งในไทย ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  43. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับแรงงาน/นักวิชาชีพไทย แรงงานฝีมือ นักวิชาชีพสามารถไปทำงาน ในประเทศอาเซียนอื่น แรงงานฝีมือ เคลื่อนย้ายได้โดยเสรี แรงงานฝีมือจากอาเซียน จะเข้ามืทำงานในไทยได้ การเป็น AEC ทำให้ เศรษฐกิจการค้า ในอาเซียนขยายตัว หากอุตสาหกรรมไทยแข่งขันไม่ได้ การจ้างงานอาจได้รับผลกระทบ อุตสาหกรรม/ธุรกิจใทยขยายตัว  การจ้างงานเพิ่มขึ้น การจ้างงานในประเทศอาจลดน้อยลง การลงทุนเสรีใน AEC ทำให้ผู้ผลิตไทยอาจย้าย ฐานการผลิตไป CLMV ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  44. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับเกษตรกรไทย ตลาดอาเซียน มีความต้องการมากขึ้น สำหรับสินค้าเกษตรไทย ที่มีคุณภาพ ภาษีนำเข้า เป็นศูนย์หรือลดลง สินค้าเกษตรจากอาเซียนที่คุณภาพดีกว่า/ราคาถูกจะเข้ามาแข่งขัน และแย่งตลาด หากเกษตรกรไทย ไม่เตรียมรับมือ • ไทยส่งออก สินค้าเกษตรได้มากขึ้น อุปสรรคนำเข้า สินค้าเกษตรหมดไป • เกษตรกรมีรายได้ มากขึ้น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  45. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับผู้บริโภค/ประชาชนทั่วไปของไทย ภาษีเป็นศูนย์ สามารถเลือกซื้อสินค้านำเข้าจากอาเซียนที่หลากหลาย / ราคาถูกลง สินค้าไม่ได้คุณภาพ อาจเข้ามาจำหน่าย หากไม่มีการควบคุม ที่เข้มงวดเหมาะสม การเป็น AEC ทำให้ ผู้ผลิต/ ผู้ให้บริการ ในประเทศต้องปรับปรุง เพื่อให้แข่งขันได้ ทำให้สินค้าและบริการคุณภาพดีขึ้น ราคาถูกลง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  46. โอกาส-ผลกระทบในระดับจังหวัดโอกาส-ผลกระทบในระดับจังหวัด โอกาส ผลกระทบ สินค้าเกษตร อุตสาหกรรม ส่งออกได้มากขึ้น นำเข้าวัตถุดิบคุณภาพดี ราคาถูกจากอาเซียนได้ มีสินค้าอาเซียน เข้ามาแข่งในตลาด มีธุรกิจอาเซียน เข้ามาตั้งแข่งในจังหวัด ผู้ประกอบการไปขยายธุรกิจในอาเซียน ธุรกิจบริการ เช่น โรงแรม ท่องเที่ยว สปา โรงพยาบาล ร้านอาหาร การศึกษา ฯลฯ มีการลงทุนจากต่างประเทศ เข้ามายังจังหวัด ต่างชาติอาจย้าย ฐานการผลิตออกไป การลงทุน อุตสาหกรรมไทยย้ายฐานการผลิตไปอาเซียนอื่น การจ้างงาน (แรงงานทั่วไป) การจ้างงานในจว.เพิ่มขึ้น การจ้างงานใน จว. ลดลง การจ้างงาน (แรงงานฝีมือ) ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือหมดไป ขาดแคลนแรงงานฝีมือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  47. ไทยพร้อมแล้วหรือยัง? --- เตรียมรุกเตรียมรับ AEC --- AEC

  48. เตรียมรุก AEC นำเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากแหล่งผลิตใน AEC ที่มีความได้เปรียบด้าน ราคา/คุณภาพ ศึกษาเสาะหาแหล่งวัตถุดิบใน AEC ขายให้ตลาดใหญ่ขึ้นและใช้ประโยชน์economy of scale (ผลิตยิ่งมาก ต้นทุนต่อหน่วยยิ่งต่ำ) ศึกษารสนิยมความต้องการใน AEC สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต ดูความเป็นไปได้การย้ายฐานผลิต ใช้CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอก AECเพื่อใช้ประโยชน์จากสถานะLeast Developed Countries : LDCs หันมามอง CLMV โดยวิสัยทัศน์ใหม่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  49. เตรียมรับ AEC เรียนรู้คู่แข่ง เกิดคู่แข่งใหม่จากอาเซียน นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศอาเซียนแล้วยังมีเพิ่มอีก 3 หรือ 6 (อาเซียนบวก3 /บวก 6) ต้นทุนของคู่แข่งอาจต่ำลง ไม่ละเลยการลดต้นทุน คู่แข่งจะเข้ามาแข่งถึงในเขตแดนเรา เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน บริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมรองรับ หรือ เคยผลิตส่งบริษัทแม่ อาจถูกแย่งลูกค้า โดยคู่แข่งในประเทศอื่นที่ได้เปรียบกว่าในการเป็นฐานการผลิต ผูกมัดใจลูกค้าในทุกรูปแบบ & สร้างความแตกต่างด้วยความคิด สร้างสรรค์ คุณภาพ/มาตรฐาน “ทำอย่างไรให้เขาอยู่(กับเรา)” อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558

  50. ภาครัฐเตรียมความพร้อมให้เอกชนอย่างไรภาครัฐเตรียมความพร้อมให้เอกชนอย่างไร เพื่อการเข้าสู่ AEC AEC

More Related