1 / 6

7.8 ความสัมพันธ์น้ำท่ากับน้ำฝน

7.8 ความสัมพันธ์น้ำท่ากับน้ำฝน. วิธีการศึกษา 1) การสร้างสมการจากกราฟ 2) Simple Linear Regression Analysis. Q. Y = a + bX หรือ Q = a + bP. P. Q = a + bP. 3) Multiple Linear Regression Analysis

theola
Download Presentation

7.8 ความสัมพันธ์น้ำท่ากับน้ำฝน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 7.8 ความสัมพันธ์น้ำท่ากับน้ำฝน • วิธีการศึกษา 1) การสร้างสมการจากกราฟ • 2) Simple Linear Regression Analysis Q Y = a + bX หรือQ = a + bP P Q = a + bP

  2. 3) Multiple Linear Regression Analysis P1 = Rainfall amount (mm.) P2 = Antecedent Rainfall (mm.) P3 = Antecedent Soil Moisture (Pi = rainfall intensity , Duration , Antecedent time ) 4) Regression Analysis โดยใช้ข้อมูล Water Year Basis 5) Free Land Curve……..Trial an error Q = a + b1P1 + b2P2 + b3P3 + … + bnPn

  3. 2. ผลงานการศึกษาความสัมพันธ์น้ำฝนกับน้ำท่า - ปริมาณน้ำในประเทศไทยมี 800,000 ล้านลบ.ม. แต่มีปริมาณน้ำท่า เพียง 200,000 ล้านลบ.ม.เท่านั้น - ปริมาณน้ำท่าต่อหน่วยพื้นที่ในลุ่มน้ำขนาดเล็กให้ปริมาณน้ำท่าสูง กว่าลุ่มน้ำขนาดใหญ่ - ในพื้นที่ต้นน้ำลำธาร (ป่าดงดิบเขา) ประมาณ 65 เปอร์เซ็นต์น้ำฝนหรือ 1,500,000 ลบ.ม./ตร.กม. พื้นที่ราบในพื้นที่ลุ่มน้ำตอนล่าง ประมาณ 250,000 – 400,000 ลบ.ม./ตร.กม. ในขณะที่ทางพื้นที่ภาคอิสานให้ น้ำท่า 15-30 เปอร์เซ็นต์ของน้ำฝนเท่านั้น - ปริมาณน้ำท่าที่ไหลของภาคเหนือ ในช่วงมีฝน (wet period) และ แล้งฝน (dry period) 80 และ 20 เปอร์เซ็นต์ของน้ำท่าซึ่งภาคอิสาน มีค่า 95 และ 5 เปอร์เซ็นต์

  4. 7.7 วิธีการแยกกราฟน้ำไหล (Hydrograph Separation) 1. Fixed Base Length Method- การเพิ่มปริมาณน้ำท่า เป็นการเพิ่ม Direct flow แทบทั้งสิ้น ผลของการไหลลงไปขังในลำห้วย ลำธารยังมีผลต่อการยับยั้งการซึมน้ำออกสู่ลำธารของ Groundwater Flow 2. Straight Line Method- การเพิ่มของปริมาณน้ำท่า เป็นการเพิ่มเฉพาะส่วนที่เป็น Direct Flowเท่านั้น 3. Variable Method - การเพิ่มปริมาณน้ำท่าเป็นการเพิ่มทั้งปริมาณ Direct flow และ Groundwater flow เป็นการกำหนดปริมาณน้ำใต้ดินซึ่งเป็น Base flow เป็นวิธีการที่นิยมใช้กันมากที่สุด

  5. Point of inflection 3 2 1 ภาพแสดงวิธีการแยกกราฟน้ำไหล ทั้ง 3 วิธี

  6. ตารางแสดงการแยกกราฟน้ำท่าโดยวิธี Fixed Base Length Method (FBL), Straight Line Method (SL) และ Variable Base Method (VB) Time ToTal Flow Baseflow (Cms) Direct Flow(cms) (cms) FBL SL VB FBL SL VB 1 T1 F1 S1 V1 T1-F1 T1-S1 T1-V1 2 T2 F2 S2 V2 T2-F2 T2-S2 T2-V2 3 T3 F3 S3 V3 T3-F3 T3-S3 T3-V3 . . . . . . . . . . . . . . . . n Tn Fn Sn Vn Tn-Fn Tn-Sn Tn-Vn หมายเหตุ Time เป็นเวลาอาจมีหน่วยเป็น นาที ชั่วโมง หรือ วัน ก็ได้

More Related