1 / 30

นายปิยพจน์ ตัณฑะ ผลิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปราวีณ ยา สุวรรณ ณัฐ โชติ

ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับ การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์ คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์. นายปิยพจน์ ตัณฑะ ผลิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปราวีณ ยา สุวรรณ ณัฐ โชติ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

theola
Download Presentation

นายปิยพจน์ ตัณฑะ ผลิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปราวีณ ยา สุวรรณ ณัฐ โชติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นายปิยพจน์ ตัณฑะผลิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียนยุคดิจิทัล และนโยบายการศึกษา • อีเลิร์นนิงขยายตัวเป็นวงกว้างในระดับหนึ่ง แต่ยังไม่ทั่วถึงในส่วนย่อย • มีคณาจารย์เพียงบางส่วนที่นำอีเลิร์นนิงมาใช้ในการเรียนการสอน • คณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ควรเป็นผู้นำทางด้านนวัตกรรมการศึกษา • มีอุปสรรค เช่น ด้านความพร้อมของอาจารย์ ด้านการสนับสนุนด้านเทคนิค ด้านนโยบายการศึกษา ด้านคุณภาพและมาตรฐาน ข้อจำกัดของอีเลิร์นนิง • การเรียนการสอนแบบผสมผสานเป็นเสมือน “เขตปลอดภัย” ในการยอมรับอีเลิร์นนิงของคณาจารย์ (Littlejohn และ Pegler, 2007)

  3. วัตถุประสงค์ • สังเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ • พัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์กับข้อมูลเชิงประจักษ์

  4. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • ประชากรคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ • กลุ่มตัวอย่าง • Schumackerและ Lomax (2004)Hair และคณะ (2006) และนงลักษณ์ วิรัชชัย (2542) เสนอให้ใช้กฎแห่งความจัดเจน (Rule of thumb) ในการวิเคราะห์สถิติประเภทพหุตัวแปร ควรใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 10-20 คนต่อตัวแปรการวิจัยหนึ่งตัวแปร การวิจัยชิ้นนี้มีตัวแปรสังเกตได้จำนวน 20 ตัวแปร กลุ่มตัวอย่างจึงควรมีขนาดไม่น้อยกว่า 200 คน • หลังจากดำเนินการส่งแบบสอบถามเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ผู้วิจัยได้แบบสอบถามกลับคืนมาจำนวน 222 ชุด ซึ่งแบบสอบถามที่ได้กลับคืนมามีจำนวนในระดับที่ยอมรับได้และเพียงพอต่อการนำไปวิเคราะห์ข้อมูล

  5. ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไปผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไป ช่วงอายุ เพศ

  6. ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไปผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไป ประสบการณ์การสอน วุฒิการศึกษาสูงสุด

  7. ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไปผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไป ตำแหน่งทางวิชาการ ประเภทมหาวิทยาลัย

  8. ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไปผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไป ประเภทสาขาวิชา/ภาควิชา ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ (LMS) ที่ใช้ในมหาวิทยาลัย

  9. ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไปผลการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานข้อมูลทั่วไป จำนวนการใช้เทคโนโลยีหรือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในรายวิชา จำนวนเทคโนโลยีหรือเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน

  10. บุคลิกภาพ ประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ความเข้ากันได้ ความซับซ้อน การทดลองใช้ กระบวนการตัดสินใจยอมรับ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การสังเกตเห็นผลได้ สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ขั้นความรู้ การรับรู้เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน คุณลักษณะของผู้สอน พฤติกรรมการสื่อสาร ขั้นการจูงใจ ทัศนคติที่มีต่อการเรียนการสอนแบบผสมผสาน การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ขั้นการตัดสินใจ การตัดสินใจรับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน บทบาทของผู้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการของหน่วยงาน นโยบายการบริหารจัดการ ขั้นการนำไปใช้ การนำการเรียนการสอนแบบผสมผสานไปใช้ ความพร้อมด้านเทคโนโลยี ขั้นการยืนยัน การยืนยันยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน คุณลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน การพัฒนาบุคลากร การช่วยเหลือด้านเทคนิค การได้รับความนับถือยกย่อง กรอบแนวคิดโมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษา

  11. เมทริกซ์สหสัมพันธ์ของตัวแปรสังเกตได้ที่ใช้ในการวิจัย

  12. โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

  13. χ2 = 315.516, df= 148, p = 0.00, χ2/df= 2.132, RMSEA = 0.073, NFI =0.985, CNFI = 0.989,RMR = 0.047, GFI = 0.873, PGFI = 0.615 บุคลิกภาพ ประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ความเข้ากันได้ ความซับซ้อน การทดลองใช้ กระบวนการตัดสินใจยอมรับ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การสังเกตเห็นผลได้ 0.68** 0.85** สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ขั้นความรู้ การรับรู้เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.72** 0.25* คุณลักษณะของผู้สอน 0.75** 0.76** พฤติกรรมการสื่อสาร 0.84** ขั้นการจูงใจ ทัศนคติที่มีต่อการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.26** 0.70** การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน 0.22** 0.98** ขั้นการตัดสินใจ การตัดสินใจรับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน บทบาทของผู้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง 0.48** 0.53** 0.97** 0.26** นโยบายการบริหารจัดการ 1.06** 0.68** ขั้นการนำไปใช้ การนำการเรียนการสอนแบบผสมผสานไปใช้ การบริหารจัดการของหน่วยงาน 0.51** 0.71** ความพร้อมด้านเทคโนโลยี 0.41** 0.84** 0.98** 0.47** ขั้นการยืนยัน การยืนยันยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน คุณลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน การพัฒนาบุคลากร 0.75** 0.68** การช่วยเหลือด้านเทคนิค 0.57** 0.73** 0.88** 0.75** 0.81** การได้รับความนับถือยกย่อง * p ≤ 0.05 ** p ≤ 0.01 โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

  14. สัมประสิทธิ์การทำนายของตัวแปรผลสัมประสิทธิ์การทำนายของตัวแปรผล

  15. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตัวแปรคุณลักษณะของผู้สอนผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตัวแปรคุณลักษณะของผู้สอน ** p ≤ 0.01

  16. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตัวแปรการบริหารจัดการของหน่วยงานผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตัวแปรการบริหารจัดการของหน่วยงาน ** p ≤ 0.01

  17. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตัวแปรคุณลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสานผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของตัวแปรคุณลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ** p ≤ 0.01

  18. χ2 = 315.516, df= 148, p = 0.00, χ2/df= 2.132, RMSEA = 0.073, NFI =0.985, CNFI = 0.989,RMR = 0.047, GFI = 0.873, PGFI = 0.615 บุคลิกภาพ กระบวนการตัดสินใจยอมรับ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.68** 0.85** สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ขั้นความรู้ การรับรู้เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.72** 0.25* คุณลักษณะของผู้สอน 0.75** พฤติกรรมการสื่อสาร 0.70** การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน บทบาทของผู้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง 0.48** 0.53** นโยบายการบริหารจัดการ 0.68** การบริหารจัดการของหน่วยงาน 0.71** ความพร้อมด้านเทคโนโลยี 0.84** การพัฒนาบุคลากร 0.75** 0.68** การช่วยเหลือด้านเทคนิค การได้รับความนับถือยกย่อง * p ≤ 0.05 ** p ≤ 0.01 โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

  19. χ2 = 315.516, df= 148, p = 0.00, χ2/df= 2.132, RMSEA = 0.073, NFI =0.985, CNFI = 0.989,RMR = 0.047, GFI = 0.873, PGFI = 0.615 ประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ความเข้ากันได้ ความซับซ้อน การทดลองใช้ กระบวนการตัดสินใจยอมรับ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การสังเกตเห็นผลได้ 0.85** ขั้นความรู้ การรับรู้เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.76** 0.84** ขั้นการจูงใจ ทัศนคติที่มีต่อการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.26** คุณลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.57** 0.73** 0.88** 0.75** 0.81** * p ≤ 0.05 ** p ≤ 0.01 โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

  20. χ2 = 315.516, df= 148, p = 0.00, χ2/df= 2.132, RMSEA = 0.073, NFI =0.985, CNFI = 0.989,RMR = 0.047, GFI = 0.873, PGFI = 0.615 บุคลิกภาพ ประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ความเข้ากันได้ ความซับซ้อน การทดลองใช้ กระบวนการตัดสินใจยอมรับ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การสังเกตเห็นผลได้ 0.68** สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม 0.72** คุณลักษณะของผู้สอน 0.75** พฤติกรรมการสื่อสาร 0.84** ขั้นการจูงใจ ทัศนคติที่มีต่อการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.26** 0.70** การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน 0.22** 0.98** ขั้นการตัดสินใจ การตัดสินใจรับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.51** คุณลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.57** 0.73** 0.88** 0.75** 0.81** * p ≤ 0.05 ** p ≤ 0.01 โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

  21. χ2 = 315.516, df= 148, p = 0.00, χ2/df= 2.132, RMSEA = 0.073, NFI =0.985, CNFI = 0.989,RMR = 0.047, GFI = 0.873, PGFI = 0.615 กระบวนการตัดสินใจยอมรับ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.98** ขั้นการตัดสินใจ การตัดสินใจรับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.97** 1.06** ขั้นการนำไปใช้ การนำการเรียนการสอนแบบผสมผสานไปใช้ * p ≤ 0.05 ** p ≤ 0.01 โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

  22. χ2 = 315.516, df= 148, p = 0.00, χ2/df= 2.132, RMSEA = 0.073, NFI =0.985, CNFI = 0.989,RMR = 0.047, GFI = 0.873, PGFI = 0.615 ประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ความเข้ากันได้ ความซับซ้อน การทดลองใช้ กระบวนการตัดสินใจยอมรับ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การสังเกตเห็นผลได้ 1.06** ขั้นการนำไปใช้ การนำการเรียนการสอนแบบผสมผสานไปใช้ 0.41** 0.98** 0.47** ขั้นการยืนยัน การยืนยันยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน คุณลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.57** 0.73** 0.88** 0.75** 0.81** * p ≤ 0.05 ** p ≤ 0.01 โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

  23. χ2 = 315.516, df= 148, p = 0.00, χ2/df= 2.132, RMSEA = 0.073, NFI =0.985, CNFI = 0.989,RMR = 0.047, GFI = 0.873, PGFI = 0.615 บุคลิกภาพ ประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ความเข้ากันได้ ความซับซ้อน การทดลองใช้ กระบวนการตัดสินใจยอมรับ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน การสังเกตเห็นผลได้ 0.68** 0.85** สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ขั้นความรู้ การรับรู้เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.72** 0.25* คุณลักษณะของผู้สอน 0.75** 0.76** พฤติกรรมการสื่อสาร 0.84** ขั้นการจูงใจ ทัศนคติที่มีต่อการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 0.26** 0.70** การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน 0.22** 0.98** ขั้นการตัดสินใจ การตัดสินใจรับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน บทบาทของผู้มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง 0.48** 0.53** 0.97** 0.26** นโยบายการบริหารจัดการ 1.06** 0.68** ขั้นการนำไปใช้ การนำการเรียนการสอนแบบผสมผสานไปใช้ การบริหารจัดการของหน่วยงาน 0.51** 0.71** ความพร้อมด้านเทคโนโลยี 0.41** 0.84** 0.98** 0.47** ขั้นการยืนยัน การยืนยันยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน คุณลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน การพัฒนาบุคลากร 0.75** 0.68** การช่วยเหลือด้านเทคนิค 0.57** 0.73** 0.88** 0.75** 0.81** การได้รับความนับถือยกย่อง * p ≤ 0.05 ** p ≤ 0.01 โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจยอมรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานของคณาจารย์คณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ที่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

  24. ขั้นความรู้ 0.76** 0.36** ขั้นการจูงใจ 0.48** การบริหารจัดการของหน่วยงาน อิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม * p ≤ 0.05 ** p ≤ 0.01 อิทธิพลทางตรงและทางอ้อมระหว่างตัวแปรแฝง

  25. 0.25* คุณลักษณะของผู้สอน ขั้นความรู้ 0.19* 0.17** 0.17** 0.07** 0.76** ขั้นการจูงใจ 0.48** 0.22** DE 0.26** IE 0.04* 0.36** การบริหารจัดการของหน่วยงาน 0.08** ขั้นการตัดสินใจ 0.08** 0.03* 0.22** 0.09** 0.29** 0.97** อิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม ขั้นการนำไปใช้ * p ≤ 0.05 ** p ≤ 0.01 DE 0.51** IE 0.06* 0.26** 0.46** 0.12* 0.41** คุณลักษณะของการเรียนการสอนแบบผสมผสาน DE 0.47** IE 0.19** ขั้นการยืนยัน 0.40** อิทธิพลทางตรงและทางอ้อมระหว่างตัวแปรแฝง

  26. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ • การส่งเสริมการใช้งานอีเลิร์นนิงในสถานศึกษา ควรเริ่มต้นจากให้คณาจารย์จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานก่อนเพื่อเป็นปรับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนให้กับคณาจารย์ • กำหนดนโยบายต่างๆ ให้มีความสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน • วางระบบอินเทอร์เน็ต เครื่องคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัยให้เพียงพอต่อการใช้งานของทั้งคณาจารย์และนิสิตนักศึกษา

  27. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ • มีการอบรมพัฒนาบุคลากรให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน • มีหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนเกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยีเมื่อคณาจารย์ประสบปัญหา • มีการจัดประกวดหรือนำเสนอผลงานวิจัยของคณาจารย์ที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อให้คณาจารย์ทราบถึงประโยชน์ของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

  28. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ การพัฒนาบุคลากร การช่วยเหลือด้านเทคนิค และการเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยีสำหรับการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลอย่างมากที่แสดงถึงการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของหน่วยงานในการสนับสนุนให้คณาจารย์ยอมรับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน

  29. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ • ควรมีบุคลากรหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่ให้การสนับสนุนเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีต่างๆ ให้บริการซ่อมบำรุงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ดูแลระบบเครือข่าย ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการใช้งานระบบบริหารจัดการเรียนรู้ (LMS) และผลิตสื่อการเรียนการสอนสำหรับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน • ส่งเสริมบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีหรือด้านอีเลิร์นนิงเข้ามาเป็นแกนนำในการช่วยสนับสนุนคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานที่ประสบผลสำเร็จ รวมถึงการให้รางวัลเพื่อเป็นกำลังใจและแรงผลักดันกับคณาจารย์เหล่านั้น

  30. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ • สถานศึกษาควรมีการประเมินความต้องการด้านเทคโนโลยีในการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และนำเสนอผลการประเมินเหล่านั้นให้กับคณาจารย์ให้ทราบอย่างทั่วถึง เพื่อให้คณาจารย์ได้ปรับปรุงการเรียนการสอนที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนมากยิ่งขึ้น • สถานศึกษาจะต้องให้การเสริมแรง ให้การสนับสนุน และอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ให้กับกลุ่มคณาจารย์ที่มีการรับรู้เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบผสมผสาน • สถานศึกษาควรให้คณาจารย์มีโอกาสได้รับรู้คุณลักษณะที่ดีของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานเป็นประจำ และเสริมแรงเมื่อคณาจารย์มีการนำการเรียนการสอนแบบผสมผสานไปใช้

More Related