1 / 48

การประยุกต์ใช้ข้อมูล

การประยุกต์ใช้ข้อมูล. ด้วยโปรแกรม Microsoft Acces. ฐานข้อมูลของ MS-Access. - ข้อมูลจริงที่เก็บไว้ในไฟล์ฐานข้อมูล .MDB จะถูกเก็บในรูปของตาราง (Table) ที่ประกอบด้วยแถวแนวตั้ง และแถวแนวนอน - เรียกแถวแนวตั้งว่า “คอลัมน์ (Column)” - เรียกแถวแนวนอนว่า “แถว (Row)”

Download Presentation

การประยุกต์ใช้ข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประยุกต์ใช้ข้อมูล ด้วยโปรแกรม Microsoft Acces

  2. ฐานข้อมูลของ MS-Access • - ข้อมูลจริงที่เก็บไว้ในไฟล์ฐานข้อมูล .MDB • จะถูกเก็บในรูปของตาราง (Table) ที่ประกอบด้วยแถวแนวตั้งและแถวแนวนอน - เรียกแถวแนวตั้งว่า “คอลัมน์ (Column)”- เรียกแถวแนวนอนว่า “แถว (Row)” • - ข้อมูลในคอลัมน์ แบ่งเป็นส่วนย่อยๆ แต่ละส่วนเรียกว่า“ฟิลด์ (Field)” • - ข้อมูลในแถว เป็นชุดข้อมูลของรายการแต่ละรายการ เรียกข้อมูลจริง • ของแต่ละรายการในแต่ละแถวว่า “เรคคอร์ด (Record)”

  3. คอลัมน์ (Column)” “แถว (Row)”

  4. ฟิลด์ (Field)” เรคคอร์ด (Record)

  5. ส่วนประกอบ/เครื่องมือของ MS Access 7 ส่วน

  6. ตาราง ส่วนที่เก็บข้อมูลจริง หรือส่วนที่บันทึกข้อมูลไว้

  7. แบบสอบถาม ส่วนของเครื่องมือที่ใช้ในการ ประยุกต์ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ใช้ประโยชน์

  8. ฟอร์ม ส่วนของการออกแบบ การติดต่อกับผู้ใช้

  9. เพจ เครื่องมือที่ใช้ในการแปลง ข้อมูลที่บันทึกไว้แล้ว นำไปแสดงผลบนอินเตอร์เน็ต

  10. แมโคร ชุดคำสั่งที่โปรแกรมสร้างไว้ให้

  11. โมดูล ชุดคำสั่งที่ต้องเขียนคำสั่งเอง

  12. การสร้างฐานข้อมูลใหม่การสร้างฐานข้อมูลใหม่ ไปที่คำสั่งแฟ้มเลือก สร้าง หรือกดแป้น ctrl+n 1

  13. เลือกฐานข้อมูลเปล่า 2

  14. 3 ตั้งชื่อแฟ้มที่ต้องการสร้าง 4

  15. การนำเข้าข้อมูลที่มีอยู่มาใช้การนำเข้าข้อมูลที่มีอยู่มาใช้ 1 คลิ๊กขวา(พื้นที่ว่าง) 2 เลือกคำสั่งนำเข้า

  16. เลือกฐานข้อมูล 3 เลือกปุ่มนำเข้า 4

  17. การสร้างแบบสอบถาม (Query)

  18. แบบสอบถาม (Query) แบบสอบถาม (Query)หมายถึง เครื่องมือในการเรียกดู ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และวิเคราะห์ข้อมูล ตามความต้องการของผู้ใช้

  19. เปิดฐานข้อมูลที่ต้องการเปิดฐานข้อมูลที่ต้องการ

  20. 2. เรียกคำสั่งแบบสอบถาม

  21. 3. เลือกชนิดของแบบสอบถาม

  22. ชนิดของแบบสอบถาม 1. มุมมองออกแบบเป็นการสร้างเครื่องมือที่ออกแบบสอบถามเอง 2. ตัวช่วยการสร้างแบบตัวช่วยเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการสร้าง Select Query แบบง่าย ๆ ในการดึงข้อมูลจาก ตาราง 3. ตัวช่วยการสร้างแบบแท็บไขว้เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการสร้าง Select Query ที่คำนวณผลรวมข้อมูลต่าง ๆ จาก ตาราง ซึ่งมีลักษณะเป็นการจัดกลุ่มตามแถว และคอลัมน์

  23. ชนิดของแบบสอบถาม 4. ตัวช่วยการสร้างแบบค้นหารายการที่ซ้ำเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการสร้าง Select Queryที่ทำการดึงข้อมูลที่ซ้ำกันออกมาแสดง 5. ตัวช่วยสร้างแบบสอบถามการค้นหาข้อมูลที่ไม่เข้าคู่กันเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการสร้างSelect Query ที่ทำการดึงข้อมูลจาก ตาราง 2 ตาราง โดยจะดึงเฉพาะ ข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันทั้ง 2 ตาราง ออกมา

  24. 4. เลือกตารางข้อมูล

  25. 5. เลือกข้อมูล (field)

  26. 6. สั่ง RUN

  27. 7. สั่ง SAVE

  28. ฝึกปฏิบัติ • สร้างแบบสอบถามว่านักศึกษาแต่ละคนมีงานอดิเรกใดบ้าง โดยให้แสดงรหัสนักศึกษา ชื่อ และงานอดิเรก โดยเรียงลำดับตามรหัสนักศึกษา • สร้างแบบสอบถามว่าอาจารย์แต่ละคนสอนวิชาใดบ้าง โดยเรียงลำดับตามชื่ออาจารย์ • สร้างแบบสอบถามว่าอาจารย์แต่ละคนเขียน text book เรื่องใดบ้าง • สร้างแบบสอบถามกลุ่มเรียน (Class)ของนักศึกษา โดยให้แสดงรหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา และห้องเรียน โดยให้เรียงตามรหัสนักศึกษาและห้องเรียน

  29. การกำหนดเงื่อนไข การใช้โอเปอเรเตอร์ในคิวรี ในการกำหนดคิวรีข้อมูลหรือสืบค้นข้อมูล จำเป็นที่จะต้องกำหนด ความต้องการในไปให้ชัดเจนเพื่อได้มาซึ่งข้อมูลที่มีความหมาย ตรงต่อความต้องการ การใช้ Operator ช่วยในการสืบ จะอำนวยความสะดวกในเรื่องนี้ได้เป็นอย่างดี

  30. การใช้คำสั่งการค้นหาข้อมูลการใช้คำสั่งการค้นหาข้อมูล • BETWEEN มีประโยชน์ในการค้นหาข้อมูลในช่วงของข้อมูล เช่น Between 10 And 20 จะมีความหมาย เช่นเดียวกับ >=10 and <=20 • IN มีประโยชน์ในการค้นหาข้อมูลที่มีฟิลด์นั้นมีค่าตรงกับข้อมูลในรายการ เช่น In(“กรุงเทพ”, “อุดรธานี”, “มหาสารคาม”) จะมีความหมายเดียวกันกับ “กรุงเทพ”or “อุดรธานี”or “มหาสารคาม” • LIKE มีประโยชน์ในการค้นหาฟิลด์ที่มีแบบข้อมูลเป็นแท็กซ์ (Text) - ใช้สัญลักษณ์ ? คือ ตัวอักษรตัวเดี่ยวใด ๆ เช่น LIKE “???” - ใช้สัญลักษณ์ * คือ ตัวอักษรตั้งแต่ 0 ขึ้นไป เช่น LIKE “a*” - ใช้สัญลักษณ์ # คือ ตัวเลขตัวเดี่ยวหนึ่งตัวรวมทั้งการกำหนดช่วงในวงเล็บ เช่น LIKE “1###*” - ใช้สัญลักษณ์ ! คือ การยกเว้นช่วง เช่น [0-9]

  31. การเรียกดูข้อมูลตามข้อความที่ต้องการการเรียกดูข้อมูลตามข้อความที่ต้องการ โดยใช้คำสั่ง LIKE • ให้แสดงรายชื่อนักศึกษาที่ขึ้นต้นด้วย ม • ให้แสดงรายชื่อนักศึกษาที่มีงานอดิเรกคือ ฟังเพลง • ให้แสดงว่า อาจารย์ที่ชื่อ ชาลี เขียน text book เรื่องใด • บ้าง • 4. ให้แสดงรายชื่อและรหัสนักศึกษาที่สอบได้เกรด A วิชาอินเทอร็เน็ตเบื้องต้น

  32. การเรียกดูข้อมูลตามข้อความที่ต้องการการเรียกดูข้อมูลตามข้อความที่ต้องการ โดยใช้คำสั่ง In และ between • ให้แสดงรายชื่อนักศึกษาที่มีงานอดิเรก คือ ฟังเพลง และอ่านหนังสือ • ให้แสดงรหัส และรายชื่อนักศึกษาที่เข้าร่วมชมรมต่างๆ โดยแสดง • เฉพาะนักศึกษาที่มีรหัสระหว่าง 4600020 - 4600040

  33. การใช้คำสั่งการคำนวณค่าการใช้คำสั่งการคำนวณค่า • ในการคำนวณให้ใช้ชื่อฟิลด์แทนการคำนวณ เช่น Expr 1:UnitPrice*0.1 • SUM คำนวณผลรวม • AVG คำนวณค่าเฉลี่ย • MIN คำนวณค่าต่ำสุด • MAX คำนวณค่าสูงสุด • COUNT คำนวณค่าผลการนับในแต่ละแถว • FIRST จะให้ค่าแรกฟิลด์(ตามลำดับที่ปรากฏในตาราง) • LAST จะให้ค่าสุดท้ายฟิลด์(ตามลำดับที่ปรากฏในตาราง) • STDEV คำนวณส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน • VAR คำนวณความแปรปรวน

  34. 2. การคำนวณโดยใช้แบบสอบถาม การนับจำนวนนักศึกษา

  35. ฝึกปฏิบัติ (การคำนวณ) • ให้สร้าง Query โดยใช้ Count ในการนับจำนวน • นับจำนวนนักศึกษาที่มีงานอดิเรกคือฟังเพลง • นับจำนวน text book ที่ใช้ในวิชาการ E-Commerce • นับจำนวนนักศึกษาที่ได้เกรด B วิชา การถ่ายภาพเบื้องต้น

  36. ฝึกปฏิบัติ (การคำนวณ) 4. ให้แสดงคะแนนที่นักศึกษาสอบได้สูงสุดของแต่ละวิชา 5. ให้แสดงคะแนนเฉลี่ยของวิชา การออกแบบเว็บไซต์

  37. โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์

  38. โอเปอเรเตอร์สำหรับเปรียบเทียบโอเปอเรเตอร์สำหรับเปรียบเทียบ

  39. 3. การใช้สูตร + - X /

  40. ตัวอย่าง ชื่อฟิลด์ที่สร้างใหม่ ชื่อฟิลด์ที่ต้องการคำนวณ

  41. ตัวอย่าง

  42. แบบฝึกหัด • ให้สร้าง Query • ให้คำนวณค่าหน่วยกิตของแต่ละวิชา โดยให้คิดอัตราหน่วยกิต ละ 200 บาท โดยให้แสดงผลเป็นคอลัมน์ใหม่ชื่อว่า อัตราหน่วยกิต • ให้เพิ่มคะแนนสอบปลายภาคของนักศึกษาทุกคนจำนวน 30 คะแนน ในวิชาอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น โดยให้แสดงผลเป็นคอลัมน์ใหม่ชื่อว่า คะแนนสอบปลายภาค

  43. การนำ Queryขึ้นมาสร้างเป็นตารางใหม่ 1 2 3 4

  44. การแปลงข้อมูลไปใช้กับโปรแกรมอื่น ๆ Access สามารถแปลงไฟล์ จาก ตาราง แบบสอบถาม ไปเป็นแฟ้มชนิดอื่นๆ ได้ เช่น Excel Word Dbase ฯ

  45. 1 คลิ๊กขวาเลือก query 2

  46. 4 ตั้งชื่อแฟ้ม 5 3 เลือกชนิดแฟ้ม

More Related