1 / 32

พร ะราช บ ัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

พร ะราช บ ัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐. การบริการ ข้อมูลของรัฐ. สิทธิรับทราบ ของประชาชน. โดย พ.ต.ท.วรัท วิเชียรสรรค ์ ผอ.ส่วนดำเนินการเรื่องร้องเรียนและตอบข้อหารือ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาญาจักรไทย พ.ศ. 2540.

thane-beck
Download Presentation

พร ะราช บ ัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ การบริการ ข้อมูลของรัฐ สิทธิรับทราบ ของประชาชน โดย พ.ต.ท.วรัท วิเชียรสรรค์ ผอ.ส่วนดำเนินการเรื่องร้องเรียนและตอบข้อหารือ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ

  2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาญาจักรไทย พ.ศ. 2540 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์สิทธิ/ เสรีภาพของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง ม. 4 ม. 58 สิทธิได้รับทราบข้อมูลข่าวสารสาธารณะ สิทธิในการได้รับคำชี้แจงและเหตุผลจากรัฐ ม. 59 ม. 76 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน รวมทั้งการตรวจสอบการ ใช้อำนาจรัฐทุกระดับ

  3. เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ ดำเนินการต่างๆ ของรัฐอย่างกว้างขวาง เพื่อให้สามารถ แสดงความคิดเห็น และใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยถูกต้อง ตรงตามความเป็นจริง ส่งเสริมให้รัฐบาลเป็นไปโดย ประชาชนมากยิ่งขึ้น และเพื่อคุ้มครองข้อมูลข่าวสาร ส่วนบุคคลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการ

  4. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540(THE OFFICIAL INFORMATION ACT, B.E.2540) • วัตถุประสงค์ • การรับรู้เพื่อความเข้าใจอย่างชัดเจน • การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น • การใช้สิทธิตามกฎหมาย

  5. ความสำคัญของการเข้าถึงความสำคัญของการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารของราชการ ได้ข้อมูลข่าวสารที่สมบูรณ์ในการตัดสินใจ โอกาสในการร่วมกำหนดนโยบายของรัฐ การได้รับทราบการทำงานของรัฐ การควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานของรัฐ

  6. ประโยชน์ที่ได้รับ การความโปร่งใสในการปฏิบัติ การมีส่วนร่วมทางการเมือง การพิทักษ์สิทธิประโยชน์ การพัฒนาระบอบประชาธิปไตย

  7. ความรู้ทั่วไป - ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 10 กันยายน 2540 - มีผลใช้บังคับ เมื่อ 9 ธันวาคม 2540 - ประเทศสวีเดน เป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายลักษณะนี้ - ประเทศไทย เป็นประเทศแรกในเอเชียที่มีกฎหมายนี้ - รวม กฎหมาย 2 ฉบับ เข้ามาในกฎหมายฉบับนี้

  8. เปิดเผยเป็นหลักทั่วไป ปกปิดเป็นข้อยกเว้น ข้อยกเว้นต้องเป็นไปตามกฎหมายเท่านั้น การคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล หลักการตามกฎหมายข้อมูลข่าวสาร

  9. ขอบเขต การบังคับใช้กฎหมาย • ข้อมูลข่าวสาร • ข้อมูลข่าวสารของราชการ • ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • หน่วยงานของรัฐ

  10. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ • ประกาศในราชกิจจานุเบกษา • จัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู • การบริการตามคำขอเฉพาะราย • เอกสารประวัติศาสตร์

  11. ประเภทของข้อมูลข่าวสารประเภทของข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสาร ที่เปิดเผยได้ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ข้อมูลข่าวสารที่อาจไม่ต้องเปิดเผยก็ได้ • ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา • ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ เปิดเผยไม่ได้ ตามมาตรา ๑๔ • ข้อมูลที่หน่วยงานของรัฐอาจ • มีคำสั่งมิให้เปิดเผยตามมาตรา๑๕ • ข้อมูลที่เป็นความลับ • ตามมาตรา๑๖ • หน่วยงานจัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู • ข้อมูลที่ร้องขอให้เปิดเผยตามมาตรา ๑๑ เอกสารประวัติศาสตร์ ตามมาตรา ๒๖

  12. การชี้แจง แนะนำโดยไม่ชักช้า การส่งคำขอให้หน่วยงานที่เป็นผู้จัดทำข้อมูล “ลับ” เป็นผู้พิจารณา การขอข้อมูลฯที่ไม่ได้ครอบครอง (ตามมาตรา ๑๒)

  13. ความมั่นคงของประเทศ การบังคับใช้กฎหมาย ความเห็น หรือ คำแนะนำภายในหน่วยงาน อันตรายแก่ชีวิต รวมทั้งความปลอดภัยฯ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล กฎหมายคุ้มครองไว้โดยเฉพาะ หรือมีผู้ไม่ประสงค์ให้เปิดเผย เหตุผลในการไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ

  14. การสอบถามคำคัดค้านไปยังผู้นั้นการสอบถามคำคัดค้านไปยังผู้นั้น การพิจารณาคำคัดค้าน /การส่งคำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้าน การเปิดเผยข้อมูลฯ ที่อาจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้อื่น(ม.๑๗)

  15. การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงาน ประโยชน์สาธารณะ ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง ดุลพินิจในการเปิดเผย

  16. ความชัดเจนในทางปฏิบัติความชัดเจนในทางปฏิบัติ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ การปฏิบัติตามระเบียบคณะรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 23 ก.พ. 44มีผลใช้บังคับ เมื่อ 23 มิ.ย. 44

  17. ต้องคุ้มครอง โดยไม่เปิดเผยเป็นหลัก (การเปิดเผยต้องได้รับความยินยอม) นิยาม : สิ่งเฉพาะตัวบุคคล + สิ่งที่ทำให้รู้ตัว ข้อมูลบุคคลธรรมดาเท่านั้น รวมถึงข้อมูลผู้ที่ถึงแก่กรรมด้วย ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล

  18. หน้าที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลหน้าที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • การจัดให้มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลเพียงเท่าที่เกี่ยวข้องและจำเป็นเพื่อดำเนินงานเท่านั้น และยกเลิกเมื่อหมดความจำเป็น • การจัดระบบรักษาความปลอดภัยตามความเหมาะสม • พยายามเก็บจากเจ้าของข้อมูลโดยตรง • การจัดให้มีการพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา • ตรวจสอบความถูกต้องอยู่เสมอ

  19. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล • เจ้าของข้อมูลให้ความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร • การใช้ดุลพินิจที่ไม่รุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล โดยไม่สมควร • คำวินิจฉัยให้เปิดเผย • ข้อยกเว้นในการเปิดเผย

  20. เงื่อนไข/ข้อจำกัดในการเปิดเผยเงื่อนไข/ข้อจำกัดในการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารของราชการ • ลบหรือตัดทอนได้บางส่วน (ม. 9 วรรค 2) • การมีคำสั่งมิให้เปิดเผย (ม. 15 วรรค 2) รวมทั้งการกำหนดเงื่อนไข • การมีคำสั่งเปิดเผย [ม. 20 (2)] แต่กำหนดข้อจำกัด/เงื่อนไขในการใช้ข้อมูล

  21. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร องค์กรตามกฎหมาย

  22. การไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย การปฏิบัติล่าช้า การไม่ได้รับความสะดวก การร้องเรียน

  23. การอุทธรณ์ • คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลฯ • คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้าน • คำสั่งไม่แก้ไข เปลี่ยนแปลง ข้อมูลส่วนบุคคล

  24. บทลงโทษ • การฝ่าฝืนไม่ส่งข้อมูลข่าวสารให้ คณะกรรมการ • การฝ่าฝืนเงื่อนไข หรือข้อจำกัด

  25. ความคุ้มครอง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ • การเปิดเผยโดยสุจริตตามระเบียบฯ ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ • การปฏิบัติหน้าที่ตามปกติตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539

  26. ภารกิจของหน่วยงานของรัฐภารกิจของหน่วยงานของรัฐ • การกำหนดนโยบายในการเปิดเผยข้อมูลฯ • จัดการอบรม/ให้ความรู้ (มติ ครม.๒๘/๑๒/๔๗) • จัดตั้งคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน • ออกระเบียบปฏิบัติ/จัดเจ้าหน้าที่/และ สถานที่ • จัดแบ่งประเภทข้อมูลข่าวสารของหน่วยงาน • การรายงานผลการปฏิบัติ ปีละ 1 ครั้ง

  27. ระเบียบฯ ที่เกี่ยวข้อง • การเก็บค่าธรรมเนียม • การปฏิบัติในการขอตรวจดู/สำเนา/ สำเนาที่มีคำรับรองถูกต้อง • การแบ่งประเภทข้อมูล รวมถึง ระดับเจ้าหน้าที่ที่ให้เปิดเผย • ระเบียบการให้ความคุ้มครองข้อมูล

  28. ประเด็นการประเมินผล ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

  29. ประเด็นการประเมินผลฯ (ต่อ)

  30. หน่วยงานในสังกัดสำนักงาน- ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี หน้าที่ตามกฎหมาย - งานวิชาการ และธุรการแก่คณะกรรมการฯ - ประสานงานหน่วยงานของรัฐ - ให้คำปรึกษาแก่เอกชน สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ (สขร.)

  31. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (ชั้น 2) ทำเนียบรัฐบาล ถนนพิษณุโลก เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0 2281-8552-3, 0 2282-1366 โทรสาร 0 2281-8543 www.oic.go.th สำนักงานคณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ (สขร.)

More Related