170 likes | 317 Views
พ.จ.อ.ปรีชา โสสุทธิ์. ช่วยป้อนนมทารก โดยวิธีป้อนจากถ้วยแก้ว. เป็นการเตรียมทารกไปดูดนมมารดาโดยให้ทารกได้ฝึกการใช้ลิ้นและริมฝีปาก. การป้อนนมวิธีนี้จะช่วยป้องกันทารกติด หัวนมยาง และไม่กลับมาดูดนมมารดา. ด้วยเหตุผลดังนี้. ลูกอาจติดการดูดหัวนมยางและ ไม่ยอมดูดนมแม่อีก
E N D
ช่วยป้อนนมทารก โดยวิธีป้อนจากถ้วยแก้ว
เป็นการเตรียมทารกไปดูดนมมารดาโดยให้ทารกได้ฝึกการใช้ลิ้นและริมฝีปากเป็นการเตรียมทารกไปดูดนมมารดาโดยให้ทารกได้ฝึกการใช้ลิ้นและริมฝีปาก การป้อนนมวิธีนี้จะช่วยป้องกันทารกติด หัวนมยาง และไม่กลับมาดูดนมมารดา
ด้วยเหตุผลดังนี้ ลูกอาจติดการดูดหัวนมยางและ ไม่ยอมดูดนมแม่อีก เพราะวิธีการที่ลูกใช้ลิ้น และริมฝีปากในการดูดนมแม่ ต่างจากการดูดจากขวด
จะทำในทารกที่หายใจปกติมีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้ 1. ล้างมือให้สะอาดก่อนป้อนนม 2. ประเมินอาการทารกก่อนให้นม 3. ดูแลทารกให้สะอาดไม่เปียกชื้น 4. ทดสอบอุณหภูมิของนม
5. เทน้ำนมผสมใส่ถ้วยแก้ว แต่ละครั้ง ประมาณ ½ ถ้วย 6. ผู้ป้อนนั่งบนเก้าอี้ที่มีพนักให้นั่ง ท่าที่สบาย 7. อุ้มทารกนั่งลงบนตักในท่าให้นม ปกติศีรษะค่อนข้างสูงหรือ ครึ่งนั่ง ครึ่งนอน
8. ให้ปากถ้วยอยู่บนริมฝีปากล่าง 9. เอียงแก้วเพื่อให้น้ำนมสัมผัสกับ ริมฝีปากทารก ห้ามเทน้ำนมเข้า ปากทารก 10. ให้ถ้วยอยู่ในตำแหน่งดังกล่าว ตลอดเวลาของการป้อน
11. พักรอให้ทารกกลืนนมลงไปก่อน และพักเป็นระยะๆ พร้อมลูบหลัง ทำให้เรอ 12. หลังจากป้อนนมทารกหมดแล้ว ทำให้เรออีกครั้งก่อนจัดให้นอน ตะแคงขวา ยกศีรษะสูง
13. เฝ้าระวังทารกทุกครึ่งถึง1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันทารก สำลัก สำรอกนม 14. ลงบันทึก เวลา และจำนวนนม ที่ได้รับ บนแบบบันทึกการให้นม
ข้อดีของการป้อนนมด้วยถ้วยข้อดีของการป้อนนมด้วยถ้วย ต่อทารก • ใช้พลังงานน้อย • ทารกกำหนดความเร็วของการให้ และปริมาณน้ำนมได้เองต้องการ • ช่วยพัฒนาการเคลื่อนไหวของลิ้น
4. ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างการดูด/ ซด กลืน และหายใจ 5. ไม่ต้องทนทุกข์จากการคาหลอดให้นม ( feeding tube ) 6. หลีกเลี่ยงการเกิดการสับสนในกลไก ที่ต่างกันของการดูดหัวนมและจุกนม
7. ทำความสะอาดถ้วยได้ง่ายกว่าขวด นม
ต่อบุคลากรทางการแพทย์ต่อบุคลากรทางการแพทย์ • เรียนและสอนให้ทำได้ง่าย • เป็นวิธีที่ไม่รุกล้ำทารก • แม่และลูกได้สบตากัน • แม่และพ่อสามารถให้นมแก่ทารกด้วยตนเอง ซึ่งช่วยลดภาระงาน
ข้อเสียของการป้อนด้วยถ้วยข้อเสียของการป้อนด้วยถ้วย • น้ำนมไหลเปรอะเปื้อน • ทารกครบกำหนดบางรายอาจปฏิเสธการป้อนด้วยถ้วย • ทารกบางรายอาจชอบการป้อนด้วยถ้วยมากกว่าดูดจากเต้า
4. ถ้าจัดท่าทารกหรือจัดถ้วยไม่ถูกต้อง ทำให้ต้องเทน้ำนมเข้าปาก อาจเสี่ยงต่อการสำลักนม
จบการนำเสนอ • ข้อมูลอ้างอิง เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ “ ความรู้...สู่ปฏิบัติ “ สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร กรุงเทพฯhttp://www.cmnb.org/fibs/c_5_10032008.pdf