90 likes | 280 Views
บัญชีกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. โดย นางสาว พีร รัตน์ อังกุรรัต อดีตอธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ที่ปรึกษางานโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. หลักการพัฒนา ตามพระราชดำริ.
E N D
บัญชีกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร • ตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี • โดยนางสาวพีรรัตน์ อังกุรรัต • อดีตอธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ • ที่ปรึกษางานโครงการตามพระราชดำริ • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
หลักการพัฒนา ตามพระราชดำริ • 1. เป้าหมายสูงสุด เด็กและเยาวชนมีโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ใฝ่เรียนรู้ ซื่อสัตย์ ประหยัด และอดทน มีความรู้และทักษะทางวิชาการและการอาชีพ เพื่อเป็นพื้นฐานของการดำรงชีวิต รักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ ภาคภูมิใจในวัฒนธรรมท้องถิ่นและความเป็นไทย และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติได้ • 2. “คน” เป็นศูนย์กลางการพัฒนา 3. ใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based) • 4. การพัฒนาอย่างองค์รวม (Holistic Approach)
หลักการพัฒนา ตามพระราชดำริ (ต่อ) 5. ความสมดุลในการพัฒนาทั้ง 6 องค์ประกอบ 6. แต่ละองค์ประกอบ ประกอบด้วยโครงการต่าง ๆ โดยมีหน่วยงาน มืออาชีพร่วมกับโรงเรียนและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง จัดทำเป็น กระบวนการทำงาน ให้องค์ประกอบนั้น ๆ ประสบผลสำเร็จ 7. การบริหารแบบมีส่วนร่วม ด้วยการบูรณาการ (Integration) การดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทุกภาคส่วน 8. สสท. เป็นหน่วยงาน ดำเนินการบูรณาการ และประสานงาน ตามพระราชดำริ
“บัญชี” เป็นเครื่องมือหนึ่ง ในการพัฒนากลุ่มเป้าหมายตามพระราชดำริ • กตส. ได้เข้ามาสนองงานตามพระราชดำริ เมื่อเดือนตุลาคม 2540 ร่วมปฏิบัติงานในการวางระบบบัญชี และให้ความรู้การบัญชีที่เหมาะสมแก่ครูและนักเรียนในองค์ประกอบด้านการส่งเสริมการอาชีพ ด้วยโครงการส่งเสริมสหกรณ์ (เริ่มปี พ.ศ.2534) ต่อมาทรงให้ขยายไปสู่องค์ประกอบด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัย ด้วยโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (เริ่มปี พ.ศ.2523) โดยการพัฒนาโรงเรียนให้สามารถจัดการเรียนการสอน การทำบัญชีฟาร์ม หลังจากนั้น ทรงมีพระราชดำริให้นักเรียน เรียนรู้การทำบัญชีรับ – จ่าย ส่วนตัวพร้อมทั้งการส่งเสริมให้ครัวเรือนในชุมชน ทำบัญชีครัวเรือนและบัญชีประกอบการงานอาชีพของตนเองได้ ด้วยการเรียนรู้จากบุตรหลาน และจากโรงเรียน
“บัญชี” เป็นเครื่องมือหนึ่ง ในการพัฒนากลุ่มเป้าหมายตามพระราชดำริ “บัญชี” ทำไม? • บัญชีช่วยพัฒนาอุปนิสัยของคน ให้รู้จักค่าของเงิน ใช้เงินอย่างคุ้มค่า ให้รู้จัก • การออม มีความซื่อสัตย์ มีวินัยทางการเงิน มีความละเอียดถี่ถ้วน มีความเพียร • พยายาม • บัญชีช่วยพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย และอื่น ๆ • บัญชีช่วยให้คนรู้จักการวิเคราะห์ การเงินการบัญชีของตนเอง ครอบครัว และ • พัฒนาอาชีพด้วยการทำบัญชีรับ – จ่าย ส่วนตัว บัญชีครัวเรือนและบัญชี • ประกอบการอาชีพ ที่จะช่วยให้การพัฒนาตนเอง ครอบครัว และอาชีพให้เจริญ • อย่างยั่งยืน
ผลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้การทำบัญชีผลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้การทำบัญชี ในโรงเรียน ตามพระราชดำริที่ผ่านมา 400 โรงเรียน ได้จัดการเรียนการสอน การทำบัญชีกิจกรรมสหกรณ์ ปรากฏผล : - • โรงเรียนร้อยละ 80 สามารถสอนสาระการเรียนรู้ การจัดทำเอกสารประกอบ การบันทึก • การทำบัญชี การทำบัญชีรับ – จ่าย การทำบัญชีย่อย และนำข้อมูลทางบัญชีไปใช้ในการประชุมได้ • โรงเรียนร้อยละ 44.53 สามารถสอนการจัดทำงบการเงิน (บัญชีกำไร – ขาดทุน และงบดุล) ได้ - โรงเรียนร้อยละ 91.50 หรือ 366 โรงเรียน ได้จัดการเรียนการสอนการทำบัญชีฟาร์ม ปรากฏผล :- • โรงเรียนร้อยละ 48.36 สามารถสอนการทำบัญชีฟาร์มได้ทุกกิจกรรมการเกษตร • โรงเรียนร้อยละ 6.28 ทำการสอนการทำบัญชีฟาร์มได้เพียงบางกิจกรรม • โรงเรียนร้อยละ 45.36 ยังไม่ได้สอนการทำบัญชีฟาร์ม
ผลที่คาดหวัง (Targets) ในการจัดการเรียนรู้การทำบัญชี ในโรงเรียนตามพระราชดำริ : - 1. การพัฒนาศักยภาพของครู ครูสามารถทำการสอนการทำบัญชีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และการทำบัญชีฟาร์มแก่นักเรียนได้ทุกสาระการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง • 2. การพัฒนาคุณภาพของนักเรียน • นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทฤษฎีการบัญชีอย่างง่าย • นักเรียนสามารถคิดตามจนสามารถตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการบัญชี • ประโยชน์ของการทำบัญชี • นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้การบัญชีเข้ากับภาคปฏิบัติ • นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้แก่ ความซื่อสัตย์ มีวินัยทางการเงิน • มีการประหยัดการออม เป็นคนมีน้ำใจช่วยให้เพื่อนทำบัญชีได้ ฯลฯ 3. ผลกระทบ (Impact) เกิดผลกระทบที่ดี ในการส่งเสริมการทำบัญชีครัวเรือนและบัญชีประกอบการอาชีพ ทั้งครัวเรือนของนักเรียน และประชาชนในชุมชน
แนวทางพัฒนาที่จะบรรลุผลที่คาดหวังแนวทางพัฒนาที่จะบรรลุผลที่คาดหวัง • ยกระดับความสามารถของครูสอนการทำบัญชีให้สูงขึ้น • สร้างทัศนคติที่ดีในการเรียนทำบัญชี • การวัดผล ประเมินผลที่นักเรียนได้รับในระดับผลผลิต (Output) ข้อเสนอแนะ กตส. ควรตั้งคณะทำงานกำหนดผลงานหลักที่ต้องประเมิน กำหนดตัวชี้วัด วิธีการประเมิน กำหนดเกณฑ์การประเมิน และทำการประเมิน แล้วรายงานผลการประเมินต่อผู้บริหาร เพื่อการพัฒนาการเรียนรู้การทำบัญชีในโรงเรียน ให้ทราบว่ามีจุดอ่อนตรงไหน ? ที่ควรติดตาม และทำการนิเทศ ช่วยให้ทำการปรับปรุงแก้ไขได้อย่างถูกจุด และทันเวลา