1 / 125

การส่องสว่าง

การส่องสว่าง. เสนอ. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. การส่องสว่างและการนำไปใช้งาน 3. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ. วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล. มาตรฐานรายวิชา. 1 . เข้าใจแหล่งกำเนิดแสงและคุณสมบัติของแสง. 2 . หาความเข้มการส่องสว่างตามสถานที่ใช้งาน. 3 . เลือกชนิดของหลอดและดวงโคม. เนื้อหาสาระ.

temima
Download Presentation

การส่องสว่าง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่องสว่าง เสนอ นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ

  2. การส่องสว่างและการนำไปใช้งาน 3

  3. นายรุ่งโรจน์ หนูขลิบ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล

  4. มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจแหล่งกำเนิดแสงและคุณสมบัติของแสง 2. หาความเข้มการส่องสว่างตามสถานที่ใช้งาน 3. เลือกชนิดของหลอดและดวงโคม

  5. เนื้อหาสาระ การส่องสว่างภายในอาคารสำนักงาน บ้านอยู่อาศัย โรงแรม โรงพยาบาล โรงเรียน สามารถประหยัดพลังงานแสงสว่างได้มากเมื่อเทียบกับการส่องสว่างภายในอย่างอื่น การส่องสว่างภายในอาคารมีความสำคัญมากเพราะ มีผลต่อประสิทธิภาพของงาน และสุขภาพ ของผลใช้งาน หรือผู้ปฏิบัติงาน

  6. เนื้อหาสาระ การส่องสว่างภายในอาคารมีความสำคัญสองประการ คือ การให้แสงสว่างเพื่อใช้งานได้สะดวกสบาย และ การให้แสงเพื่อให้เกิดความสวยงาม ไม่ว่าจะเป็นการส่องสว่างแบบใดก็ตามก็ต้องคำนึงถึงการประหยัดพลังงานแสงสว่างด้วยสำหรับในยุคปัจจุบันที่พลังงานไฟฟ้าเป็นสิ่งจำเป็นและหายากยิ่ง

  7. จุดประสงค์ครั้งนี้ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถนำไปใช้ได้เกี่ยวกับ • บอกความหมายของการส่องสว่างและการนำไปใช้งานได้ • บอกความเหมาะสมการส่องสว่างและการนำไปใช้งานได้

  8. จุดประสงค์ครั้งนี้ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถนำไปใช้ได้เกี่ยวกับ 3. บอก ชนิด ขนาด รูปแบบ การส่องสว่างและการนำไปใช้งานได้ 4. หลักการการส่องสว่างและการนำไปใช้งาน

  9. รายการสอน 1. การส่องสว่างและการนำไปใช้งาน 2. การคำนวณกำลังไฟฟ้า 3. แสงสว่างสำหรับอาคารชนิดต่างๆ 4. หลักการให้แสงสว่างภายในอาคาร 5. แสงสว่างในที่ทำงาน

  10. รายการสอน 6. การจัดวางตำแหน่งดวงโคม 7. การออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าในอาคาร 8. การส่องสว่างภายนอกอาคาร 9. การออกแบบไฟฟ้าสนามกีฬากลางแจ้ง 10. ไฟส่องป้ายโฆษณา

  11. สังคม/เศรษฐกิจ/วัฒนธรรม/สิ่งแวดล้อมสังคม/เศรษฐกิจ/วัฒนธรรม/สิ่งแวดล้อม สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง พอประมาณ มีเหตุผล นำสู่ ทางสายกลาง  พอเพียง มีภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง เงื่อนไขคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปัญญา

  12. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ... วิศวกรรมการส่องสว่าง.... ชื่อผู้แต่ง..... มงคล ทองสงคราม..... สำนักพิมพ์..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด...... ปีที่พิมพ์....2538........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  13. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ... วิศวกรรมการส่องสว่าง.... ชื่อผู้แต่ง..... ศุลี บรรจงจิตร..... สำนักพิมพ์..... ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด...... ปีที่พิมพ์....2538........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  14. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ... พื้นฐานวิศวกรรมการส่องสว่าง.... ชื่อผู้แต่ง..... อ.ไชยะ แช่มช้อย..... สำนักพิมพ์.....เอ็มแอนด์อี จำกัด........ ปีที่พิมพ์....2550........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  15. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..การส่องสว่าง.. ชื่อผู้แต่ง.....วิทย์ อ้นจร และคณะ..... สำนักพิมพ์..... ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ........ ปีที่พิมพ์....2549........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  16. หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอนหนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน ชื่อหนังสือ..การส่องสว่าง.. ชื่อผู้แต่ง.....วัฒนา ถาวร ..... สำนักพิมพ์... สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี่ (ไทยญี่ปุ่น).... ปีที่พิมพ์....2536........ จังหวัด... กรุงเทพมหานคร...

  17. การส่องสว่างและการนำไปใช้งาน 3

  18. การออกแบบระบบแสงสว่างการออกแบบระบบแสงสว่าง ในการออกแบบระบบไฟฟ้าภายในอาคาร การออกแบบระบบแสงสว่างมักจะถูกออกแบบเป็นลำดับแรกเสมอก่อนที่จะไปออกแบบระบบไฟฟ้าในส่วนอื่นต่อไป โดยการออกแบบระบบแสงสว่างนั้นจะต้องเอาภาระโหลดของโคมไฟฟ้าไปรวมอยู่ในตารางโหลดด้วยในการออกแบบระบบแสงสว่างสามารถ

  19. การออกแบบระบบแสงสว่างการออกแบบระบบแสงสว่าง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ 1. การออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคาร 2. การออกแบบระบบแสงสว่างภายนอกอาคาร

  20. การออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคารการออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคาร การออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคาร ยังสามารถแยกแยะตามลักษณะของอาคารว่าเป็นอาคารที่ใช้งานในลักษณะใด เช่น อาคารที่อยู่อาศัย , อาคารสำนักงาน , อาคารพาณิชย์หรือ อาคารอุตสาหกรรม ซึ่งจะมีผลต่อการออกแบบ และการเลือกใช้โคมไฟฟ้าให้เหมาะสมกับลักษณะอาคารที่ใช้งานนั้น

  21. ผลของการออกแบบระบบแสงสว่าง 1. ทำงานได้รวดเร็วขึ้น 2. ลดข้อบกพร่องของงานให้น้อยลง 3. ลดอุบัติเหตุในการทำงานให้น้อยลง 4. ระบบการทำงานของกล้ามเนื้อตาดีขึ้น 5. ประหยัดค่าไฟฟ้า 6. ลดความเครียดอันเกิดจากการเพ่งสายตา 7. ให้ความสวยงามประทับใจผู้พบเห็น ฯลฯ

  22. การคำนวณในการออกแบบระบบแสงสว่างการคำนวณในการออกแบบระบบแสงสว่าง สิ่งที่เราต้องการทราบคือ จำนวนของดวงโคม ที่จะติดตั้งภายในห้องนั้น โดยชนิดของโคมและชนิดของหลอดไฟฟ้าเราสามารถกำหนดชนิดได้ด้วยตนเองตามความเหมาะสมของแต่ละห้องที่ต้องการออกแบบ

  23. การคำนวณในการออกแบบระบบแสงสว่างการคำนวณในการออกแบบระบบแสงสว่าง ซึ่งต้องทราบค่าของปริมาณความส่องสว่างทั้งหมดของห้องตามมาตรฐานของ IES เป็นตัวกำหนดค่ามาตรฐานของความส่องสว่างของห้องนั้นๆ ใน ตาราง (ในหน่วย Lux หากใช้ระยะเป็น เมตร, ในหน่วย fc หากใช้ระยะเป็นฟุต) หากต้องการเปลี่ยนหน่วยระหว่าง Lux กับ fc ก็สามารถทำได้จากความสัมพันธ์

  24. การเปลี่ยนหน่วยระหว่าง Lux กับ fc 1 Lux = 0.0929 fc 1 fc = 10.76 Lux

  25. วิธีการออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคารวิธีการออกแบบระบบแสงสว่างภายในอาคาร • แบ่งได้ 2 วิธีคือ • คำนวณวิธีลูเมนต์ (Lumen Method) • - Zonal Cavity Method • - Room Index Method (Room Ratio Method) • 2. คำนวณวิธีจุดต่อจุด (Point By Point Method)

  26. การคำนวณวิธีลูเมนแบบ Zonal Cavitity Method ค่าความส่องสว่างรวมทังหมดของห้องสามารถหาได้จากสมการ

  27. การคำนวณวิธีลูเมนแบบ Zonal Cavitity Method จำนวนดวงโคมที่ต้องการใช้ภายในห้อง สามารถหาได้จากสมการ

  28. CU = ค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์ (Coefficient of Utilization) ดูตารางที่ 3 หรือ กำหนดค่าโดยการประมาณค่า LLD = ค่าความเสื่อมของหลอดไฟ (Lamp Lumen Depreciation) ดูคู่มือของหลอดไฟฟ้าจากโรงงานผู้ผลิต สมการที่ 1

  29. TL = ค่าฟลักซ์ส่องสว่างรวมของห้อง (Lumen) (TL=Total Luminaire) E = ค่าปริมาณความส่องสว่างตามมาตรฐาน IES (Lux ; fc) Ilumination Engineering Societyดูตารางที่ 1 A = พื้นที่ของห้องที่ออกแบบ กว้าง x ยาว (ตารางเมตร ; ตารางฟุต)

  30. ค่าปริมาณความส่องสว่าง (E) เป็นค่าที่แสดงค่าความส่องสว่างที่เป็น มาตรฐานของห้องที่ต้องการออกแบบระบบแสงสว่างนั้น โดยจะต้องพิจารณาการใช้งานของห้องนั้นว่ามีลักษณะการใช้งานในลักษณะใด แล้วเปิด ตารางที่ 1

  31. Em LUX UGRL Ra(min) ชนิดพื้นที่ 1. พื้นที่ภายในอาคารทั่วไป โถงทางเข้าอาคาร 100 22 60 200 22 80 โถงนั่งพัก 100 28 40 พื้นที่ทางเดินภายในอาคาร 150 25 40 บันได บันไดเลื่อน ทางเลื่อน Unified Glare Rating(UGR)

  32. ตารางแสดงความสว่างที่เหมาะสมในสถานที่ต่างๆตารางแสดงความสว่างที่เหมาะสมในสถานที่ต่างๆ

  33. ตารางแสดงความสว่างที่เหมาะสมในสถานที่ต่างๆตารางแสดงความสว่างที่เหมาะสมในสถานที่ต่างๆ

  34. ตาราง ความส่องสว่างในพื้นที่ใช้งานต่างๆในบ้านอยู่อาศัย

  35. ตาราง ความส่องสว่างในพื้นที่ใช้งานต่างๆในบ้านอยู่อาศัย

  36. ตาราง ความสมดุลระหว่างความส่องสว่าง ของพื้นที่ใช้งานและข้างเคียง ของพื้นที่ใช้งาน

  37. ตาราง กำลังไฟฟ้าสำหรับความสูงฝ้า 4 เมตร ที่ 500 ลักซ์

  38. ตาราง ความส่องสว่าง(ลักซ์)ที่ตู้แสดงเทียบ กับสภาพถนนด้านหน้า

  39. ตาราง ความส่องสว่างทั่วไปในห้างสรรพสินค้า

  40. ตาราง ความส่องสว่างสำหรับสินค้า ในห้างสรรพสินค้าสัมพันธ์กับคุณภาพแสง

  41. ตาราง ความส่องสว่างสำหรับสินค้า ในห้างสรรพสินค้าสัมพันธ์กับคุณภาพแสง

  42. ตาราง ความส่องสว่างสำหรับสินค้า ในห้างสรรพสินค้าสัมพันธ์กับคุณภาพแสง

  43. ตาราง ความส่องสว่างสำหรับสินค้า ในห้างสรรพสินค้าสัมพันธ์กับคุณภาพแสง

  44. ตาราง ความส่องสว่างสำหรับสินค้า ในห้างสรรพสินค้าสัมพันธ์กับคุณภาพแสง

  45. ประสิทธิภาพของแสงโดยดูที่ค่าลูเมนต่อวัตต์ประสิทธิภาพของแสงโดยดูที่ค่าลูเมนต่อวัตต์ ถ้ายิ่งมากยิ่งดีและมี ประสิทธิภาพสูง ( ลูเมน คือ ปริมาณแสงที่ปล่อยออกมาจากหลอดแสงสว่าง ส่วนวัตต์ คือพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในการกำเนิดแสง)

More Related