300 likes | 491 Views
มาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญ ทางระบาดวิทยา. รศ.นพ.ภพ โกศลารักษ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. โรคไข้เลือดออกเดงกี Dengue hemorrhagic fever (DHF). มาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญทางระบาดวิทยา. Clinical manifestation Diagnostic criteria Assess severity Treatment. สิ่งที่ต้องการให้ทราบ.
E N D
มาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญทางระบาดวิทยามาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญทางระบาดวิทยา รศ.นพ.ภพ โกศลารักษ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โรคไข้เลือดออกเดงกีDengue hemorrhagic fever (DHF)
มาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญทางระบาดวิทยามาตรฐานการรักษาโรคที่สำคัญทางระบาดวิทยา • Clinical manifestation • Diagnostic criteria • Assess severity • Treatment
สิ่งที่ต้องการให้ทราบสิ่งที่ต้องการให้ทราบ • ทราบความแตกต่างของ DF vs. DHF • สามารถจำแนกความรุนแรง (Grading) • ให้คำแนะนำผู้ดูแลระยะไข้ได้ • สามารถตัดสินใจในการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลได้ • สามารถสั่งสารน้ำ การส่งตรวจและทราบหลักการติดตามผู้ป่วยระหว่างรักษา
การวินิจฉัยโรค อาการทางคลินิก : 1. ไข้ 2. เลือดออก 3. ตับโต 4. ภาวะช็อก Lab : 1. เกล็ดเลือด น้อยกว่าหรือเท่ากับ 100,000/ลบ.มม. 2. Hct เพิ่มขึ้น มากกว่าหรือเท่ากับ 20 %
ไข้สูง หน้าแดง โดยไม่มีน้ำมูก Sensitivity Specificity วันที่ 1 ของโรค 73.3 93.3 วันที่ 2 ของโรค 90.5 89.2 วันที่ 3 ของโรค 85.5 87.9 (Teeraratkul , 1990)
การดำเนินโรคของ DHF 1. ระยะไข้ 2. ระยะวิกฤต / ช็อก 3. ระยะฟื้นตัว
ความรุนแรงของโรค (Grade) • Bleeding and circulatory disturbance • I : no spontaneous hemorrhage • II : spontaneous hemorrhage • III : PP < 20 mmHg • IV : profound shock
Tourniquet test ผลบวก : > 10 จุดต่อตารางนิ้ว Sensitivity Specificity วันที่ 1 ของโรค 53.3 75.8 วันที่ 2 ของโรค 90.6 77.8 วันที่ 3 ของโรค 98.7 74.2
การเปลี่ยนแปลงทางห้องปฏิบัติการการเปลี่ยนแปลงทางห้องปฏิบัติการ • 1. WBC • 2. Platelet • Hct • Not routine: coagulogram, CXR, ESR
การดูแลรักษา : รักษาตามอาการและประคับประคอง : วินิจฉัยได้เร็ว : ติดตามดูอาการและการเปลี่ยนแปลงใกล้ชิด : ยาต้านไวรัส
การดูแลรักษา ระยะไข้สูง: เช็ดตัว ยาลดไข้ : แนะนำการดำเนินโรค : แนะนำอาการนำของช็อก : อาจตรวจ Hct, Platelet : รักษาแบบ OPD case ถ้าดื่มน้ำ ของเหลวได้เพียงพอ
การดูแลรักษา ระยะไข้ลด : ให้น้ำตามการรั่วของพลาสมา การประเมินอาการเพื่อปรับการให้น้ำ : Clinical : Vital sign : Hct : Urine output
การดูแลรักษา:ระยะไข้ลดการดูแลรักษา:ระยะไข้ลด 1. Hct เพิ่มขึ้น , ไม่ช็อก 5%D/NSS = M + 3-5%deficit 2. ช็อก : 5%D/NSS = 10 - 20 ml/kg/h : profound shock ให้ 10 ml/kg bolus IV push : ค่อยๆ ลดอัตราการให้ IV fluid
ข้อควรระวัง 1. การรั่วของพลาสมา เกิดขึ้น 24 - 48 ชั่วโมง 2. การให้สารน้ำก่อน ป้องกันการรั่วไม่ได้ 3. ให้สารน้ำเพื่อ maintain effective circulatory volume 4. อาจพบระดับโซเดียมต่ำ ควรให้ 5%D/NSS 5. ช็อกนาน Hct ลดลง คิดถึงภาวะเลือดออก 6. รักษาช้า ช็อกนาน เกิด DIC
หลักสำคัญในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤตหลักสำคัญในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤต 1. ให้ IV fluid เมื่อมีการรั่วของพลาสมา 2. วินิจฉัยช็อกให้เร็ว 3. แก้ไขภาวะความผิดปกติของกรดด่าง 4. คิดถึงภาวะเลือดออกภายใน 5. ไม่ควรให้ IV fluid เกิน 24 - 48 ชั่วโมง
ข้อบ่งชี้ในการให้ IV fluid ในระยะวิกฤต 1. Hct rising , Plt < 100,000 และดื่มน้ำไม่ได้พอ 2. Hct >20% 3. Impending shock หรือ shock
ชนิดของ IV fluid ในระยะช็อก : เด็กโต 5%D/NSS : เด็ก < 1 ปี ให้ 5%D/N/2 : Colloid solution
การให้ Dextran-40 : 10% Dextran-40 in NSS : osmalarity สูงกว่าพลาสมา 2 - 3 เท่า : 10 ml/kg/h ไม่เกิน 30 ml/kg/day : azotemia , bleeding
Rate IV fluidในระยะวิกฤต ผู้ป่วยที่ไม่ช็อก : Maintenance + 5% deficit ผู้ป่วยช็อก : grade III 10 ml/kg/h : grade IV 10 ml/kg bolus หรือ free flow 5-10 min ตามด้วย 10, 7, 5 ml/kg/h * Monitor clinical, V/S, Hct, Urine output
Case 1. เด็กหญิงอายุ 6 ปี มีไข้สูงมา 5 วัน ไม่มีอาการไอหรือ น้ำมูก เมื่อคืนไข้ลงแต่เด็กซึมและอาเจียน : Drowsy and vomiting, BW 16 kg : BP 90/60, PR 120/min, RR 24/min, : Liver 2 cm below RCM, petechiae at extremities : Tourniquet test - positive. Diagnosis, Stage, Grade??
CBC : Hb 14.4 gm%, Hct 45%, WBC 3,600, PMN = 23, L = 63, Atypical L = 10, M = 4 Platelet 32,000 cells/cu.mm.
Case 1. DATE BP PR Hct FLUID NOTE mmHg /min % Day 1 10.00 AM 90/60 120 45 ??? Cap refill 3 sec 12.00 PM 109/74 98 ate 2-3 spoon food 16.00 PM 98/48 83 38 ate 2-3 spoon food 18.00 PM 100/66 83 ??? void x 1 20.00 PM 106/32 81 37 24.00 PM 91/51 75 37
Case 1. BP PR Hct FLUID NOTE mmHg /min % Day 2 06.00 AM 96/57 78 41 void x 1 08.00 AM 90/49 79 ??? ate half a plate 12.00 AM 96/50 88 good appetite 14.00 AM 90/50 100 35 20.00 PM 94/46 90 ??? void x 1 24.00 PM 91/51 75 37 Day 3 08.00 AM 95/55 80 discharge
Case 2. เด็กหญิงอายุ14ปี มีไข้สูงมา3วัน มีอาการไอเล็กน้อย ไม่มีน้ำมูก วันนี้เด็กซึมบ่นปวดท้อง : Looked sick and cold extremities : BP 90/80 mmHg, PR 112/min, very weak, T 36.1, RR 30/min, BW 55 kg : Cold, clammy skin, capillary refill 3 sec : Liver 2 cm below RCM : TT-positive with petechial rash on both lower extremities Diagnosis, Stage, Grade??
CBC : Hct 41.2%, WBC 3,300 /cu.mm. PMN 49, L 27, Atyp L 20, M 4 Platelet 22,000 /cu.mm.
Case 2. DATE BP PR Hct FLUID NOTE mmHg /min % Day 1 11.50 90/80 112 48 ??? cold,clammy skin 12.00 PM 100/70 108 ??? 13.00 PM 121/67 96 ??? 14.00 PM 111/60 87 40 ??? void x 1 16.00 PM 107/57 97 40 ??? ate some food 18.00 PM 108/54 98 42 1.7 ml/kg/h void x 1 22.00 PM 111/50 91 38
Case 2. DATE BP PR Hct FLUID NOTE mmHg /min % Day 2 06.00 AM 104/55 98 37 void x 1 08.00 AM 110/60 82 ??? rather good appetite 14.00 PM 100/60 76 36 Off IV fluid void x 2
Case 2. DATE BP PR Hct FLUID NOTE mmHg / min % Day 3 08.00 AM 112/54 77 void x 3,good appetite confluent petechial rash with scattere white,small, round areas on both upper and lower extremitie 14.00 PM 121/68 60 discharge home