1 / 27

หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ

หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ. ลูกหนี้การค้า หมายถึง ลูกหนี้ที่เกิดจากการดำเนินการค้าตามปกติของธุรกิจ. ลูกหนี้อื่น หมายถึง ลูกหนี้ที่ไม่ได้เกิดจากการดำเนินการค้าตามปกติของธุรกิจ เช่น ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืมแก่กรรมการและลูกจ้าง เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทในเครือและบริษัทร่วม รายได้อื่นค้างรับ.

Download Presentation

หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญหนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ

  2. ลูกหนี้การค้า หมายถึง ลูกหนี้ที่เกิดจากการดำเนินการค้าตามปกติของธุรกิจ ลูกหนี้อื่น หมายถึง ลูกหนี้ที่ไม่ได้เกิดจากการดำเนินการค้าตามปกติของธุรกิจ เช่น ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืมแก่กรรมการและลูกจ้าง เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทในเครือและบริษัทร่วม รายได้อื่นค้างรับ หนี้สูญ หมายถึง ลูกหนี้ที่ได้ติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแล้ว แต่ไม่ได้รับชำระหนี้และได้ตัดจำหน่ายออกจากบัญชี

  3. หนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ และ ถือเป็นค่าใช้จ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง จำนวนที่กันไว้สำหรับลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ และ ถือเป็นบัญชีปรับมูลค่าที่ตั้งขึ้น เพื่อแสดงเป็นรายการหักจากบัญชีลูกหนี้ในงบการเงิน เพื่อให้คงเหลือเป็นมูลค่าสุทธิของลูกหนี้ที่คาดหมายว่าจะเก็บได้

  4. หนี้สงสัยจะสูญให้พิจารณาทั้งลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นหนี้สงสัยจะสูญให้พิจารณาทั้งลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น และให้พิจารณาแยกต่างหากจากกัน การเปลี่ยนแปลงประมาณหนี้สงสัยจะสูญ ไม่ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีหรือหลักการบัญชี ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงประมาณการบัญชี

  5. วิธีประมาณหนี้สงสัยจะสูญวิธีประมาณหนี้สงสัยจะสูญ • ร้อยละของยอดขาย • 1.1 ยอดขายรวม • 1.2 ยอดขายเชื่อ • 2. ร้อยละของยอดลูกหนี้ • 2.1 ตามอัตราส่วน • 2.2 จำแนกตามอายุของหนี้ที่ค้างชำระ • 3. พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย

  6. บริษัท ก จำกัด ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ ในปี 2545 จำนวน 100,000 บาท ปี 2546 จำนวน 120,000 บาท ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 จำหน่ายหนี้สูญ จำนวน 950 บาท ในปี 2547 มีหนี้สูญรับคืน จำนวน 100 บาท ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 1%ของยอดขายเชื่อ

  7. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 1,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000 (100,000 X 1%)

  8. ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. หนี้สูญ 950 Cr. ลูกหนี้ 950 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 950 Cr.หนี้สงสัยจะสูญ 950 ตามบัญชี Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 950 Cr. ลูกหนี้ 950

  9. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 1,200 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,200 (120,000 X 1%) งบดุล ณ 31 ธันวาคม 2546 ลูกหนี้(สมมติ) 400,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,250 398,750 (1,000-950+1200)

  10. งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 ตามกฎหมายภาษีอากรตามบัญชี ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย หนี้สูญ 950 หนี้สงสัยจะสูญ 250 หนี้สงสัยจะสูญ 1,200

  11. ปี 2547 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. ลูกหนี้ 100 Cr. หนี้สูญได้รับคืน(รายได้อื่น) 100 Dr. เงินสด 100 Cr.ลูกหนี้ 100 ตามบัญชี Dr. ลูกหนี้ 100 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 100 Dr. เงินสด 100 Cr.ลูกหนี้ 100

  12. ณ สิ้นปี 2545 บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีจำนวน 1,000 บาท ลูกหนี้สิ้นปี 300,000 บาท ปี 2546 จำหน่ายหนี้สูญ 200 บาท ลูกหนี้สิ้นปี 400,000 บาท ปี 2547 หนี้สูญได้รับคืน 200 บาท ลูกหนี้สิ้นปี 500,000 บาท ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2%ของลูกหนี้สิ้นปี

  13. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 5,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000 (300,000 X 2% = 6,000 6,000 – 1,000 = 5,000)

  14. งบดุลณ 31 ธันวาคม 2545 ลูกหนี้300,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 6,000294,000 งบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545 หนี้สงสัยจะสูญ 5,000

  15. ปี 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. หนี้สูญ 200 Cr. ลูกหนี้ 200 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Cr.หนี้สงสัยจะสูญ200 ตามบัญชี Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Cr. ลูกหนี้ 200

  16. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 2,200 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,200 (400,000 X 2% = 8,000 8,000 – (6,000 – 200) = 2,200)

  17. งบดุลณ 31 ธันวาคม 2546 ลูกหนี้ 400,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 8000 392,000 งบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545 ตามกฎหมายภาษีอากรตามบัญชี หนี้สูญ 200 หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 หนี้สงสัยจะสูญ 2,200 (2,200-200)

  18. ปี 2547 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. ลูกหนี้ 200 Cr. หนี้สูญได้รับคืน 200 Dr. เงินสด 200 Cr.ลูกหนี้200 ตามบัญชี Dr. ลูกหนี้ 200 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Dr. เงินสด 200 Cr.ลูกหนี้200

  19. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,000 (500,000 X 2% = 10,000 10,000–8,000 = 2,000)

  20. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ตามบัญชี Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 1,800 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,800 (500,000 X 2% = 10,000 10,000–(8,000+200) = 1,800)

  21. งบดุลณ 31 ธันวาคม 2547 ลูกหนี้ 500,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000 490,000

  22. งบกำไรขาดทุนสำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2547 ตามกฎหมายภาษีอากรตามบัญชี รายได้อื่น หนี้สูญได้รับคืน 200 ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 หนี้สงสัยจะสูญ 1,800

  23. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเกินความต้องการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเกินความต้องการ ณ สิ้นปี 2546 ลูกหนี้ 600,000 บาท ณ สิ้นปี 2547 ลูกหนี้ 400,000 บาท ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 5 %ของลูกหนี้สิ้นปี

  24. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 30,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 30,000 (600,000 X 5% = 30,000)

  25. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000 Cr.หนี้สงสัยจะสูญ 10,000 (400,000 X 5% = 20,000 20,000 – 30,000 = -10,000 )

  26. งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 และ 2547 2547 2546 ค่าใช้จ่าย วัสดุสำนักงาน 5,000 6,000 หนี้สงสัยจะสูญ (10,000) 30,000

  27. Q & A

More Related